เมื่อวาน ศาลอนุญาตฝากขัง แฟรงค์ - ตะวัน ต่ออีกหนึ่งผลัด ด้วยเหตุผลว่า
คำร้องขอฝากขังครั้งที่ 3 ของพนักงานสอบสวน สน.ดินแดง ผู้ร้อง
จึงชอบด้วย
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 87
และในส่วนเรื่องอำนาจการควบคุมตัวผู้ต้องหา เมื่อศาลอนุญาตให้หมายขังตามคำร้องขอฝากขังแล้ว
เป็นดุลพินิจของศาลที่จะอนุญาตให้ปล่อยตัวชั่วคราวหรือไม่
ตาม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 มาตรา 29
ประกอบ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 108/1
ซึ่งผู้ต้องหาทั้งสองมีสิทธิยื่นคำร้องขอปล่อยตัวชั่วคราวหรืออุทธรณ์คำสั่งได้ตามกฎหมาย
https://www.matichon.co.th/politics/news_4462029
.
ประเด็นสำคัญของการฝากขัง มีข้อกฎหมายอยู่ 3 มาตรา
1. ป.วิ อาญา มาตรา 87
2. รัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 29
3. ป.วิ อาญา มาตรา 108/1
จะเห็นว่า
ป.วิ อาญา มาตรา 87 ที่ศาลใช้ประกอบการพิจารณาฝากขัง
ประเด็นนี้ กฎหมายมาตรา 87 ศักดิ์สิทธิ์
แต่...
รัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 29 ที่บัญญัติไว้ว่า
"ในคดีอาญา ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า ผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่มีความผิด
และก่อนมีคำพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงว่าบุคคลใดได้กระทำความผิด
จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็นผู้กระทำความผิดมิได้"
กลับดูเหมือนไม่มีผลต่อการพิจารณาของศาล
และ
ป.วิ อาญา มาตรา 108/1 บัญญัติไว้ว่า
"กำรสั่งไม่ให้ปล่อยชั่วครำว
จะกระทำได้ต่อเมื่อมีเหตุอันควรเชื่อ
เหตุใดเหตุหนึ่งดังต่อไปนี้
(๑) ผู้ต้องหรือจำเลยจะหลบหนี
(๒) ผู้ต้องหรือจำเลยจะไปยุ่งเหยิงกับพยำนหลักฐำน
(๓) ผู้ต้องหรือจำเลยจะไปก่อเหตุอันตรายประการอื่น
(๔) ผู้ร้องขอประกันหรือหลักประกันไม่น่ำเชื่อถือ
(๕) กำรปล่อยชั่วครำวจะเป็นอุปสรรคหรือก่อให้เกิดควำมเสียยต่อกำรสอบสวน
ของเจ้ำพนักงำนหรือกำรดำเนินคดีในศำล"
ประมวลกฎหมายข้อนี้ เหมือนไม่เคยถูกหยิบยกขึ้นมาประกอบการพิจารณาของศาลเลย
การให้เหตุผลของการไม่ให้ประกันตัว ล้วนแต่เป็นเหตุผลอื่นตามดุลพินิจที่ขัดกับมาตรา 108/1 ทั้งสิ้น
.........
จะเห็นว่า แฟรงค์ - ตะวัน ต้องได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญมาตรา 29
และต้องได้รับการปฏิบัติประกันตัวตามมาตรา 108/1 เพราะไม่ได้ผิดเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ทั้ง 5 ข้อ
แต่พวกเขากลับโดนขัง จนต้องอดอาหารประท้วง
ข้อหา 116 ก็เป็นเรื่องเลื่อนลอย ไม่สมควรโดนฝากขังด้วยซ้ำ
และในฐานะผู้ถูกกล่าวหา ยังมิใช่จำเลย กลับถูกขังเหมือนกลายเป็นผู้กระทำผิดไปแล้ว
นิติรัฐ นิติธรรม ประเทศนี้ อยู่ตรงไหน
สื่อสลิ่มทั้งหลายก็บิดเบือน ใส่ร้าย จนคุณใบตองแห้งต้องออกมาขอร้อง
.
ฝากถึงคุณแม่ของตะวัน
เห็นด้วยครับ ที่บอกให้ลูกสาวสู้ต่อไป เพราะคือการสู้กับความไม่เป็นธรรม
ถ้าประเทศนี้มีความเป็นธรรม ตะวันจะไม่ตกอยู่ในสภาพแบบนี้
ถ้าประเทศนี้เกิดความเป็นธรรม พวกที่เหน็บแนมตะวันอยู่ในวันนี้ ก็ได้รับผลพวงความเป็นธรรมด้วย
แต่พวกเขาไม่รู้สึก ไม่เกิดสำนึก ช่วงพวกเขา
เป็นกำลังใจให้ครับ
ด้วยคารวะ
ศาลว่าเองนะครับ ชัดเจน แล้วจะขังพวกเขาไว้ทำไม ด้วยเหตุผลอะไร ?
คำร้องขอฝากขังครั้งที่ 3 ของพนักงานสอบสวน สน.ดินแดง ผู้ร้อง
จึงชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 87
และในส่วนเรื่องอำนาจการควบคุมตัวผู้ต้องหา เมื่อศาลอนุญาตให้หมายขังตามคำร้องขอฝากขังแล้ว
เป็นดุลพินิจของศาลที่จะอนุญาตให้ปล่อยตัวชั่วคราวหรือไม่
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 มาตรา 29
ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 108/1
ซึ่งผู้ต้องหาทั้งสองมีสิทธิยื่นคำร้องขอปล่อยตัวชั่วคราวหรืออุทธรณ์คำสั่งได้ตามกฎหมาย
https://www.matichon.co.th/politics/news_4462029
1. ป.วิ อาญา มาตรา 87
2. รัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 29
3. ป.วิ อาญา มาตรา 108/1
จะเห็นว่า
ป.วิ อาญา มาตรา 87 ที่ศาลใช้ประกอบการพิจารณาฝากขัง
ประเด็นนี้ กฎหมายมาตรา 87 ศักดิ์สิทธิ์
แต่...
รัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 29 ที่บัญญัติไว้ว่า
"ในคดีอาญา ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า ผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่มีความผิด
และก่อนมีคำพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงว่าบุคคลใดได้กระทำความผิด
จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็นผู้กระทำความผิดมิได้"
กลับดูเหมือนไม่มีผลต่อการพิจารณาของศาล
และ
ป.วิ อาญา มาตรา 108/1 บัญญัติไว้ว่า
"กำรสั่งไม่ให้ปล่อยชั่วครำว จะกระทำได้ต่อเมื่อมีเหตุอันควรเชื่อ
เหตุใดเหตุหนึ่งดังต่อไปนี้
(๑) ผู้ต้องหรือจำเลยจะหลบหนี
(๒) ผู้ต้องหรือจำเลยจะไปยุ่งเหยิงกับพยำนหลักฐำน
(๓) ผู้ต้องหรือจำเลยจะไปก่อเหตุอันตรายประการอื่น
(๔) ผู้ร้องขอประกันหรือหลักประกันไม่น่ำเชื่อถือ
(๕) กำรปล่อยชั่วครำวจะเป็นอุปสรรคหรือก่อให้เกิดควำมเสียยต่อกำรสอบสวน
ของเจ้ำพนักงำนหรือกำรดำเนินคดีในศำล"
ประมวลกฎหมายข้อนี้ เหมือนไม่เคยถูกหยิบยกขึ้นมาประกอบการพิจารณาของศาลเลย
การให้เหตุผลของการไม่ให้ประกันตัว ล้วนแต่เป็นเหตุผลอื่นตามดุลพินิจที่ขัดกับมาตรา 108/1 ทั้งสิ้น
.........
จะเห็นว่า แฟรงค์ - ตะวัน ต้องได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญมาตรา 29
และต้องได้รับการปฏิบัติประกันตัวตามมาตรา 108/1 เพราะไม่ได้ผิดเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ทั้ง 5 ข้อ
แต่พวกเขากลับโดนขัง จนต้องอดอาหารประท้วง
ข้อหา 116 ก็เป็นเรื่องเลื่อนลอย ไม่สมควรโดนฝากขังด้วยซ้ำ
และในฐานะผู้ถูกกล่าวหา ยังมิใช่จำเลย กลับถูกขังเหมือนกลายเป็นผู้กระทำผิดไปแล้ว
นิติรัฐ นิติธรรม ประเทศนี้ อยู่ตรงไหน
สื่อสลิ่มทั้งหลายก็บิดเบือน ใส่ร้าย จนคุณใบตองแห้งต้องออกมาขอร้อง