ไตรสิกขา
(การทำบทศึกษา ๓ อย่างให้ละเอียดสุขุมยิ่งขึ้นไป)
๑. อธิศีลสิกขา
· ปกติ (ท่ามกลางหมู่ชน)
· เวรมณี (เจตนาละเว้น)
· อินทรียสังวร ๗ (สำรวมกายวาจาใจ)
· ศีลกรรมบถ ๑๐ (สุจริต ๓)
· ปัญจเวรวิรัติ (ศีล ๕)
· ศีลในองค์มรรค
· อุโบสถศีล
· ศีลกรรมบถ (สุจริต ๓)
· ศีลของสามเณร ๑๐
· สิกขาบทของภิกษุ โดย อดีต สมเด็จพระวนรัต (แดง) วัดสุทัศน์ ฯ
· ในสัมมาสมาธิ ศีลจะบริสุทธิ์ม่มีการละเมิดปกติ
· อานิสงส์ของศีล
o สุข โภคะ นิพพาน
o ความไม่กระสับกระส่าย เบากายเบาจิต
· เป็นพื้นฐานของสมาธิ เช่น ถ้าศีลไม่บริสุทธิ์สัมมาสมาธิจะไม่เกิด อาทิ ศีลานุสสติ เป็นต้น
· สีลลัพพัตตปรามาส
· สีลสามัญญตา (+ ทิฏฐิสามัญญตา), สมาสังวาส และ นานาสังวาส
๒. อธิจิตตสิกขา
· การเพ่ง ๒ อย่าง ได้แก่
o เพ่งอารมณ์ เช่น กรรมฐาน ๔๐ กอง
o เพ่งลักษณะ เช่น ลักษณะธรรมตา ๙ ประการ
§ อนิจจตา ความไม่จีรัง
§ ทุกขตา ความเป็นทุกข์ทนยากเกิดแล้วแก่เจ็บตายไป
§ อนัตตตา ความไม่มีตัวตนและของ ๆ ตน ให้ใครบังคับบัญชา
§ ธรรมฐิตตตา
§ ธรรมนิยามตา
§ ตถตา ความเป็นเช่นนั้นเอง
§ อิทัปปัจจยตา (ปฏิจจสมุปบาท) ปัจจยการ
§ สูญญตา ความว่างเปล่าจากสาระแก่นสาร
§ อตัมมยตา ความไม่สำเร็จมาจากสิ่งนั้น
· สมาธิสูตร
· อนุบุพพวิหาร ๙
o รูปฌาน ๔
o อรูปฌาน ๔
o สัญญาเวทนิโรธ ๑
· สมถะยานิก และ วิปัสสนายานิก
· เจโตวิมุติ และ ปัญญาวิมุติ
๓. อธิปัญญาสิกขา
· มหาสติปัฏฐาน ๔
· วิปัสสนาภูมิ ๖ -- วิปัสสนาภูมิ ๖ โดยย่อและละเอียด - Pantip
· อานาปานสติ ๑๖
· โลกธรรมสูตร
· นิพพาน ๒ อย่าง ๒ ปริยาย
o กิเลสนิพพาน
§ อุปาทิเสส (เหลือเศษ) พระเสขะ
§ อนุปาทิเสส (ไม่เหลือเศษ) พระอเสขะยังไม่ละสังขาร
o ขันธนิพพาน
§ อุปาทิเสส (เหลือเศษ) พระอเสขะยังไม่ละสังขาร
§ อนุปาทิเสส (ไม่เหลือเศษ) พระอเสขะที่ละสังขารแล้ว
· โสฬสปัญหา ใน ปรายตนะวรรค
o อากิญจัญญายตนะ เจโตวิมุติ ฯลฯ
o สูญญะโต โลกัง อะเวกขัสสุ ฯลฯ
· อาพาธสูตร (สัญญา ๑๐)
· อภิณหปัจจเวกขณ์ ๕/๑๐
ไตรสิกขา เวอร์ชั่นพิมพ์
(การทำบทศึกษา ๓ อย่างให้ละเอียดสุขุมยิ่งขึ้นไป)
๑. อธิศีลสิกขา
· ปกติ (ท่ามกลางหมู่ชน)
· เวรมณี (เจตนาละเว้น)
· อินทรียสังวร ๗ (สำรวมกายวาจาใจ)
· ศีลกรรมบถ ๑๐ (สุจริต ๓)
· ปัญจเวรวิรัติ (ศีล ๕)
· ศีลในองค์มรรค
· อุโบสถศีล
· ศีลกรรมบถ (สุจริต ๓)
· ศีลของสามเณร ๑๐
· สิกขาบทของภิกษุ โดย อดีต สมเด็จพระวนรัต (แดง) วัดสุทัศน์ ฯ
· ในสัมมาสมาธิ ศีลจะบริสุทธิ์ม่มีการละเมิดปกติ
· อานิสงส์ของศีล
o สุข โภคะ นิพพาน
o ความไม่กระสับกระส่าย เบากายเบาจิต
· เป็นพื้นฐานของสมาธิ เช่น ถ้าศีลไม่บริสุทธิ์สัมมาสมาธิจะไม่เกิด อาทิ ศีลานุสสติ เป็นต้น
· สีลลัพพัตตปรามาส
· สีลสามัญญตา (+ ทิฏฐิสามัญญตา), สมาสังวาส และ นานาสังวาส
๒. อธิจิตตสิกขา
· การเพ่ง ๒ อย่าง ได้แก่
o เพ่งอารมณ์ เช่น กรรมฐาน ๔๐ กอง
o เพ่งลักษณะ เช่น ลักษณะธรรมตา ๙ ประการ
§ อนิจจตา ความไม่จีรัง
§ ทุกขตา ความเป็นทุกข์ทนยากเกิดแล้วแก่เจ็บตายไป
§ อนัตตตา ความไม่มีตัวตนและของ ๆ ตน ให้ใครบังคับบัญชา
§ ธรรมฐิตตตา
§ ธรรมนิยามตา
§ ตถตา ความเป็นเช่นนั้นเอง
§ อิทัปปัจจยตา (ปฏิจจสมุปบาท) ปัจจยการ
§ สูญญตา ความว่างเปล่าจากสาระแก่นสาร
§ อตัมมยตา ความไม่สำเร็จมาจากสิ่งนั้น
· สมาธิสูตร
· อนุบุพพวิหาร ๙
o รูปฌาน ๔
o อรูปฌาน ๔
o สัญญาเวทนิโรธ ๑
· สมถะยานิก และ วิปัสสนายานิก
· เจโตวิมุติ และ ปัญญาวิมุติ
๓. อธิปัญญาสิกขา
· มหาสติปัฏฐาน ๔
· วิปัสสนาภูมิ ๖ -- วิปัสสนาภูมิ ๖ โดยย่อและละเอียด - Pantip
· อานาปานสติ ๑๖
· โลกธรรมสูตร
· นิพพาน ๒ อย่าง ๒ ปริยาย
o กิเลสนิพพาน
§ อุปาทิเสส (เหลือเศษ) พระเสขะ
§ อนุปาทิเสส (ไม่เหลือเศษ) พระอเสขะยังไม่ละสังขาร
o ขันธนิพพาน
§ อุปาทิเสส (เหลือเศษ) พระอเสขะยังไม่ละสังขาร
§ อนุปาทิเสส (ไม่เหลือเศษ) พระอเสขะที่ละสังขารแล้ว
· โสฬสปัญหา ใน ปรายตนะวรรค
o อากิญจัญญายตนะ เจโตวิมุติ ฯลฯ
o สูญญะโต โลกัง อะเวกขัสสุ ฯลฯ
· อาพาธสูตร (สัญญา ๑๐)
· อภิณหปัจจเวกขณ์ ๕/๑๐