มีเรื่องมาสอบถามครับ กรณีกฎหมาย
บริษัทAดำเนินกิจการก่อสร้างคอนโดเพื่อขาย และ มีการฟอกเงิน
ต่อมาโครงการขาดสภาพคล่องเนื่องจากเจ้าของกิจการ(ชาวต่างชาติ)ฟอกเงินออกจากบริษัท
และอ้างว่า บริหารขาดทุนทำให้ขาดสภาพคล่องและต้องปลดพนักงาน
ทั้งนี้ได้มีผู้เสียหายจำนวนมาก ที่ทำสัญญาจะซื้อจะขายแล้ว และชำระเงินประมาณ75%ของราคาห้องแล้ว
ต่อมาบริษัทAปลดพนักงานออก
โดยเสนอจ่ายค่าชดเชยที่1.5เท่าของเงินเดือน(พนักงานเกือบทั้งหมดมีสิทธิ์ได้3เท่าตามกฎหมาย)
พนักงานบางส่วนยอมและบางส่วนไม่ยอม
พนักงานที่ไม่ยอมได้ดำเนินการร้องต่อกรมแรงงานแล้ว และมั่นใจว่าจะชนะคดีแน่นอน
แต่มีปัญหา พนักงานท่านนึง ซึ่งเป็นฝ่ายบุคคล
เมื่อบริษัทฯ สอบถาม ทางพนักงานฝ่ายบุคคลขอรับ3เดือนตามสิทธิ์ ทำให้นายจ้างไม่พอใจและได้ ส่งหนังสือปลด(กรณีผิดร้ายแรง)ให้กับพนักงานคนดังกล่าว ทั้งที่ตลอดระยะเวลาเกือบ3ปีที่ผ่านมาไม่เคยมีใบเดือนเลยแม้แต่ครั้งเดียว แต่มามีใบปลดในเดือนสุดท้ายหลังจาก แจ้งล่วงหน้ากับพนักงานว่าบริษัทจะทำการปลดพนักงาน
โดยมีความผิดที่ทางบริษัทพยายามเฟ้นหามา เพื่อให้ตรงกับความผิดร้ายแรง เพื่อไม่ต้องจ่ายเงินเลิกจ้าง
และมีข้อหนึ่งที่น่าสนใจ ที่ผมจะขอเอามาสอบถาม นักกฎหมายหลายๆท่าน โดยมีใจความดังนี้
ในใบเลิกจ้าง(ใบไล่ออก)นั้น ได้ระบุว่า ทางบริษัท ได้รับข้อมูลจากนาง B ซึ่งเป็นเอเจ้นแนะนำห้อง ว่าพนักงานฝ่ายบุคคลได้เรียกรับค่าตอบแทน จากการหาห้องพักรายเดือนให้กับเจ้านาย
โดยทางเอเจ้นให้เงินกับทางพนักงานฝ่ายบุคคลเป็นเงิน3000บาท
ทั้งนี้ ทางบริษัทไม่ได้เรียกสอบสวนข้อเท็จจริง และนำเอาความผิดดังกล่าวมาลงในใบเลิกจ้างนั้นทันที
กรณีดังกล่าว หากมีการขึ้นศาลแล้ว มีการให้การที่แตกต่างกัน กรณีนี้ จะหาข้อสรุปได้อย่างไรครับ
เช่น
ถ้าพนักงานฝ่ายบุคคลได้รับเงินจริง แต่รับเป็นเงินสด ไม่มีหลักฐานการสนทนา หรือลักฐานการรับเงิน พนักงานฝ่ายบุคคลนั้นก็สามารถอ้างได้ว่า ไม่ได้รับ ไม่ได้เรียกรับ ก็อาจเป็นการให้การเท็จได้
ถ้านางBซึ่งเป็นเอเจ้น ได้บอกว่าได้มอบให้เป็นเงินสด แต่ไม่มีหลักฐานการรับเงิน ก็อาจเป็นการให้การเท็จหรือจริงก็ได้
หรือ
ถ้าพนักงานฝ่ายบุคคลไม่ได้รับเงินจริง ไม่มีหลักฐานการสนทนา หรือลักฐานการรับเงิน พนักงานฝ่ายบุคคลนั้นก็สามารถอ้างได้ว่า ไม่ได้รับ ไม่ได้เรียกรับ ศาลจะทราบได้อย่างไรว่าให้การจริงหรือเท็จ
ถ้านางBซึ่งเป็นเอเจ้น ได้บอกว่าได้มอบให้เป็นเงินสด แต่ไม่มีหลักฐานการรับเงิน ก็อาจถูกว่าจ้างเพื่อให้การเท็จก็ได้
กรณีแบบนี้ ศาลจะมีหลักเกณฑ์พิจจารณาอย่างไรครับ?
ให้การต่อศาล พิสูจน์ได้อย่างไร ใครพูดจริงหรือเท็จ?
บริษัทAดำเนินกิจการก่อสร้างคอนโดเพื่อขาย และ มีการฟอกเงิน
ต่อมาโครงการขาดสภาพคล่องเนื่องจากเจ้าของกิจการ(ชาวต่างชาติ)ฟอกเงินออกจากบริษัท
และอ้างว่า บริหารขาดทุนทำให้ขาดสภาพคล่องและต้องปลดพนักงาน
ทั้งนี้ได้มีผู้เสียหายจำนวนมาก ที่ทำสัญญาจะซื้อจะขายแล้ว และชำระเงินประมาณ75%ของราคาห้องแล้ว
ต่อมาบริษัทAปลดพนักงานออก
โดยเสนอจ่ายค่าชดเชยที่1.5เท่าของเงินเดือน(พนักงานเกือบทั้งหมดมีสิทธิ์ได้3เท่าตามกฎหมาย)
พนักงานบางส่วนยอมและบางส่วนไม่ยอม
พนักงานที่ไม่ยอมได้ดำเนินการร้องต่อกรมแรงงานแล้ว และมั่นใจว่าจะชนะคดีแน่นอน
แต่มีปัญหา พนักงานท่านนึง ซึ่งเป็นฝ่ายบุคคล
เมื่อบริษัทฯ สอบถาม ทางพนักงานฝ่ายบุคคลขอรับ3เดือนตามสิทธิ์ ทำให้นายจ้างไม่พอใจและได้ ส่งหนังสือปลด(กรณีผิดร้ายแรง)ให้กับพนักงานคนดังกล่าว ทั้งที่ตลอดระยะเวลาเกือบ3ปีที่ผ่านมาไม่เคยมีใบเดือนเลยแม้แต่ครั้งเดียว แต่มามีใบปลดในเดือนสุดท้ายหลังจาก แจ้งล่วงหน้ากับพนักงานว่าบริษัทจะทำการปลดพนักงาน
โดยมีความผิดที่ทางบริษัทพยายามเฟ้นหามา เพื่อให้ตรงกับความผิดร้ายแรง เพื่อไม่ต้องจ่ายเงินเลิกจ้าง
และมีข้อหนึ่งที่น่าสนใจ ที่ผมจะขอเอามาสอบถาม นักกฎหมายหลายๆท่าน โดยมีใจความดังนี้
ในใบเลิกจ้าง(ใบไล่ออก)นั้น ได้ระบุว่า ทางบริษัท ได้รับข้อมูลจากนาง B ซึ่งเป็นเอเจ้นแนะนำห้อง ว่าพนักงานฝ่ายบุคคลได้เรียกรับค่าตอบแทน จากการหาห้องพักรายเดือนให้กับเจ้านาย
โดยทางเอเจ้นให้เงินกับทางพนักงานฝ่ายบุคคลเป็นเงิน3000บาท
ทั้งนี้ ทางบริษัทไม่ได้เรียกสอบสวนข้อเท็จจริง และนำเอาความผิดดังกล่าวมาลงในใบเลิกจ้างนั้นทันที
กรณีดังกล่าว หากมีการขึ้นศาลแล้ว มีการให้การที่แตกต่างกัน กรณีนี้ จะหาข้อสรุปได้อย่างไรครับ
เช่น
ถ้าพนักงานฝ่ายบุคคลได้รับเงินจริง แต่รับเป็นเงินสด ไม่มีหลักฐานการสนทนา หรือลักฐานการรับเงิน พนักงานฝ่ายบุคคลนั้นก็สามารถอ้างได้ว่า ไม่ได้รับ ไม่ได้เรียกรับ ก็อาจเป็นการให้การเท็จได้
ถ้านางBซึ่งเป็นเอเจ้น ได้บอกว่าได้มอบให้เป็นเงินสด แต่ไม่มีหลักฐานการรับเงิน ก็อาจเป็นการให้การเท็จหรือจริงก็ได้
หรือ
ถ้าพนักงานฝ่ายบุคคลไม่ได้รับเงินจริง ไม่มีหลักฐานการสนทนา หรือลักฐานการรับเงิน พนักงานฝ่ายบุคคลนั้นก็สามารถอ้างได้ว่า ไม่ได้รับ ไม่ได้เรียกรับ ศาลจะทราบได้อย่างไรว่าให้การจริงหรือเท็จ
ถ้านางBซึ่งเป็นเอเจ้น ได้บอกว่าได้มอบให้เป็นเงินสด แต่ไม่มีหลักฐานการรับเงิน ก็อาจถูกว่าจ้างเพื่อให้การเท็จก็ได้
กรณีแบบนี้ ศาลจะมีหลักเกณฑ์พิจจารณาอย่างไรครับ?