ตอนนี้สับสนมาก ว่ามีผลจริงๆหรือยัง หรือต้องรอให้ประกาศในราชกิจจาฯ อย่างเป็นทางการ เหลือเวลาอีกแค่ 10 วันต้องปรับปรุงระบบ payroll
ผลการประชุมของคณะกรรมการค่าจ้างขั้นต่ำ หรือ คณะกรรมการไตรภาคี สรุปตัวเลขค่าจ้างขั้นต่ำประจำปี 2567
โดยมีมติเห็นชอบให้ปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำเพิ่มในอัตราตั้งแต่วันละ 6-18 บาท ซึ่งเป็นอัตราเฉลี่ยร้อยละ 2.37
ซึ่งจังหวัดที่ได้ค่าจ้างสูงสุดคือ จ.ภูเก็ต ค่าจ้างขั้นต่ำวันละ 370 บาท ต่ำสุด จ.นราธิวาส ปัตตานีและยะลา วันละ 330 บาท ทั้งนี้ เตรียมเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณาให้ความเห็นชอบในวันที่ 12 ธ.ค. 2566 นี้ และคาดว่าจะสามารถบังคับใช้ได้ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2567 เป็นต้นไป
นายไพโรจน์ โชติกเสถียร ปลัดกระทรวงแรงงาน เป็นประธานการประชุมพิจารณาอัตราค่าจ้างขั้นต่ำประจำปี 2567 ตามที่คณะอนุกรรมการวิชาการและกลั่นกรองเสนออัตราค่าจ้างขั้นต่ำของแต่ละจังหวัดเข้าสู่การพิจารณา โดยบอร์ดค่าจ้างฝ่ายลูกจ้าง นายจ้าง และรัฐบาลฝ่ายละ 5 คน เข้าร่วมประชุมครบทุกคน ซึ่งการประชุมนี้จะเป็นการพิจารณาสรุปตัวเลขค่าจ้างขั้นต่ำประจำปี 2566 เคาะตัวเลขค่าจ้างขั้นต่ำรายจังหวัดเป็นครั้งสุดท้าย
ผลการประชุมของคณะกรรมการค่าจ้างขั้นต่ำ หรือ คณะกรรมการไตรภาคี สรุปตัวเลขค่าจ้างขั้นต่ำประจำปี 2567 โดยมีมติเห็นชอบให้ปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำเพิ่มในอัตราตั้งแต่วันละ 6-18 บาท ซึ่งเป็นอัตราเฉลี่ยร้อยละ 2.37
ซึ่งจังหวัดที่ได้ค่าจ้างสูงสุดคือ จ.ภูเก็ต ค่าจ้างขั้นต่ำวันละ 370 บาท ต่ำสุด จ.นราธิวาส ปัตตานีและยะลา วันละ 330 บาท ทั้งนี้ เตรียมเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณาให้ความเห็นชอบในวันที่ 12 ธ.ค. 2566 นี้ และคาดว่าจะสามารถบังคับใช้ได้ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2567 เป็นต้นไป
นายไพโรจน์ กล่าวอีกว่า การปรับค่าจ้างขั้นต่ำในครั้งนี้ เพื่อให้แรงงานทั่วไปสามารถดำรงชีพตามสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน รวมทั้งตามความเหมาะสมของธุรกิจ ส่วนเหตุผลที่ไม่สามารถปรับขึ้นค่าแรงตามใจลูกจ้างหรือนายจ้างบางรายไม่ได้ เนื่องจากต้องเป็นไปตามสูตรการคำนวณที่คณะอนุกรรมการของแต่ละจังหวัดแจ้งผลการพิจารณาของจังหวัด ส่งให้อนุของการกลั่นกรองอีกครั้งหนึ่ง ก่อนที่จะนำเข้าสู่ที่ประชุมชุดใหญ่ในวันนี้ (8 ธ.ค.) ซึ่งผลการประชุมสรุปให้ปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ สูงสุด 370 บาทและต่ำสุด 330 บาท
‘ครม.‘ มีมติทบทวนค่าแรงขั้นต่ำ ’แรงงาน’ จ่อคุยไตรภาคีอีกรอบ หาสูตรใหม่ค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำทบทวนใหม่ ครม.รับทราบตามที่ รมว.แรงงานเสนอที่ประชุม ครม.เองให้หาสูตรใหม่ในการปรับค่าแรงของไตรภาคี หลังมองตัวเลขต่ำเกินไป "พิชัย"มองปรับค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาททั่วประเทศ เหมาะสม หลังไม่ได้ขยับค่าแรงจากระดับ300 กว่าบาทต่อวันมานานกว่า 10 ปี
ขอเสนอกลับไปพิจารณารายละเอียดเพิ่มเติมอีกครั้ง คาดว่าจะนำกลับเข้ามาในครม.ก่อนสิ้นปี 2566 นี้
"วันนี้กระทรวงแรงงาน เสนอมติของคณะกรรมการค่าจ้างเข้ามาครม. ตามกำหนด แต่ในการประชุมก็ได้มีการตั้งข้อสังเกตและขอนำกลับไปพิจารณาเพิ่มเติม เพราะส่วนตัวไม่เห็นด้วยกับการนำหลักการคำนวณค่าแรงขั้นต่ำ โดยใช้ฐานปี 2563-2564 มาเป็นสูตรคำนวณ โดยจะเสนอไปยังคณะกรรมการค่าจ้าง พิจารณาเพิ่มเติมใหม่อีกครั้ง"
ที่ประชุม ครม.เปิดเผยว่าในการประชุมครม.วันนี้รับทราบการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำปี 2567 ตามที่กระทรวงแรงงานเสนอให้มีการปรับขึ้น 2 – 16บาทต่อวัน แต่ยังไม่ได้เป็นตัวเลขที่จะประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาให้มีผลทั่วประเทศภายในวันที่ 1 ม.ค.2567 แต่อย่างใด
เรื่องค่าแรงขั้นต่ำมีผล 1 มค 2567 ตกลงได้ข้อสรุปแบบเป็นทางการ พร้อมปฏิบัติได้หรือยัง
ผลการประชุมของคณะกรรมการค่าจ้างขั้นต่ำ หรือ คณะกรรมการไตรภาคี สรุปตัวเลขค่าจ้างขั้นต่ำประจำปี 2567
โดยมีมติเห็นชอบให้ปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำเพิ่มในอัตราตั้งแต่วันละ 6-18 บาท ซึ่งเป็นอัตราเฉลี่ยร้อยละ 2.37
ซึ่งจังหวัดที่ได้ค่าจ้างสูงสุดคือ จ.ภูเก็ต ค่าจ้างขั้นต่ำวันละ 370 บาท ต่ำสุด จ.นราธิวาส ปัตตานีและยะลา วันละ 330 บาท ทั้งนี้ เตรียมเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณาให้ความเห็นชอบในวันที่ 12 ธ.ค. 2566 นี้ และคาดว่าจะสามารถบังคับใช้ได้ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2567 เป็นต้นไป
นายไพโรจน์ โชติกเสถียร ปลัดกระทรวงแรงงาน เป็นประธานการประชุมพิจารณาอัตราค่าจ้างขั้นต่ำประจำปี 2567 ตามที่คณะอนุกรรมการวิชาการและกลั่นกรองเสนออัตราค่าจ้างขั้นต่ำของแต่ละจังหวัดเข้าสู่การพิจารณา โดยบอร์ดค่าจ้างฝ่ายลูกจ้าง นายจ้าง และรัฐบาลฝ่ายละ 5 คน เข้าร่วมประชุมครบทุกคน ซึ่งการประชุมนี้จะเป็นการพิจารณาสรุปตัวเลขค่าจ้างขั้นต่ำประจำปี 2566 เคาะตัวเลขค่าจ้างขั้นต่ำรายจังหวัดเป็นครั้งสุดท้าย
ผลการประชุมของคณะกรรมการค่าจ้างขั้นต่ำ หรือ คณะกรรมการไตรภาคี สรุปตัวเลขค่าจ้างขั้นต่ำประจำปี 2567 โดยมีมติเห็นชอบให้ปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำเพิ่มในอัตราตั้งแต่วันละ 6-18 บาท ซึ่งเป็นอัตราเฉลี่ยร้อยละ 2.37
ซึ่งจังหวัดที่ได้ค่าจ้างสูงสุดคือ จ.ภูเก็ต ค่าจ้างขั้นต่ำวันละ 370 บาท ต่ำสุด จ.นราธิวาส ปัตตานีและยะลา วันละ 330 บาท ทั้งนี้ เตรียมเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณาให้ความเห็นชอบในวันที่ 12 ธ.ค. 2566 นี้ และคาดว่าจะสามารถบังคับใช้ได้ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2567 เป็นต้นไป
นายไพโรจน์ กล่าวอีกว่า การปรับค่าจ้างขั้นต่ำในครั้งนี้ เพื่อให้แรงงานทั่วไปสามารถดำรงชีพตามสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน รวมทั้งตามความเหมาะสมของธุรกิจ ส่วนเหตุผลที่ไม่สามารถปรับขึ้นค่าแรงตามใจลูกจ้างหรือนายจ้างบางรายไม่ได้ เนื่องจากต้องเป็นไปตามสูตรการคำนวณที่คณะอนุกรรมการของแต่ละจังหวัดแจ้งผลการพิจารณาของจังหวัด ส่งให้อนุของการกลั่นกรองอีกครั้งหนึ่ง ก่อนที่จะนำเข้าสู่ที่ประชุมชุดใหญ่ในวันนี้ (8 ธ.ค.) ซึ่งผลการประชุมสรุปให้ปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ สูงสุด 370 บาทและต่ำสุด 330 บาท
‘ครม.‘ มีมติทบทวนค่าแรงขั้นต่ำ ’แรงงาน’ จ่อคุยไตรภาคีอีกรอบ หาสูตรใหม่ค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำทบทวนใหม่ ครม.รับทราบตามที่ รมว.แรงงานเสนอที่ประชุม ครม.เองให้หาสูตรใหม่ในการปรับค่าแรงของไตรภาคี หลังมองตัวเลขต่ำเกินไป "พิชัย"มองปรับค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาททั่วประเทศ เหมาะสม หลังไม่ได้ขยับค่าแรงจากระดับ300 กว่าบาทต่อวันมานานกว่า 10 ปี
ขอเสนอกลับไปพิจารณารายละเอียดเพิ่มเติมอีกครั้ง คาดว่าจะนำกลับเข้ามาในครม.ก่อนสิ้นปี 2566 นี้
"วันนี้กระทรวงแรงงาน เสนอมติของคณะกรรมการค่าจ้างเข้ามาครม. ตามกำหนด แต่ในการประชุมก็ได้มีการตั้งข้อสังเกตและขอนำกลับไปพิจารณาเพิ่มเติม เพราะส่วนตัวไม่เห็นด้วยกับการนำหลักการคำนวณค่าแรงขั้นต่ำ โดยใช้ฐานปี 2563-2564 มาเป็นสูตรคำนวณ โดยจะเสนอไปยังคณะกรรมการค่าจ้าง พิจารณาเพิ่มเติมใหม่อีกครั้ง"
ที่ประชุม ครม.เปิดเผยว่าในการประชุมครม.วันนี้รับทราบการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำปี 2567 ตามที่กระทรวงแรงงานเสนอให้มีการปรับขึ้น 2 – 16บาทต่อวัน แต่ยังไม่ได้เป็นตัวเลขที่จะประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาให้มีผลทั่วประเทศภายในวันที่ 1 ม.ค.2567 แต่อย่างใด