(ความเดิมตอนที่แล้ว)
ตอนที่ 1
https://ppantip.com/topic/41968033
ตอนที่ 2
https://ppantip.com/topic/42005266
ตอนที่ 3
https://ppantip.com/topic/42086472
... วันนึง เมื่อประมาณ 9 ปีก่อนน่าจะได้ สมัยที่ โลกยังไม่รู้จัก Covid-19 และทุกคนยังต้องนั่งรถตู้ ในการเดินทางช่วงเช้า-เย็น กันอยู่ ผมก็เป็นคนนึงที่ยังต้องรอคิวรถ แล้วก็นั่งคู้ขาในที่แคบ ๆ ประมาณวันละ 2 ช.ม. เพื่อไปทำงานใจกลางเมืองอย่างที่คนส่วนใหญ่เค้าทำกัน
ตอนนั้นผมเลยมีเวลาอ่าน Richard Feynman - QED, The strange Theory of Light and Matter และนั่งคิดเรื่องนี้อยู่ วันละ 2 ช.ม. เป็นอย่างต่ำอยู่ประมาณ 1 ปีถ้วน ๆ และนี่คือสิ่งที่ผมคิดเป็นภาพออกมาได้นะครับ ...
เราเริ่มจาก ภาพของ Feynman ก่อน (ประมาณนี้ ...
https://en.wikipedia.org/wiki/Feynman_diagram)
ภาพด้านขวาของ Wiki เป็นภาพ Iconic ของ Feynman diagram วิธีเข้าใจภาพคือ เราไม่ต้องไปสนว่า สมการมหาศาลที่คำนวนยากฉิบ มาจากใหนมาได้ยังไง แต่นักวิทยาศาสตร์ มีชื่อเสียงจำนวนมาก คำนวนมาแล้ว ถูกต้อง .. เชื่อตามนี้แหละ ซึ่งเป็นวิธีการที่ revolution การเข้าใจทางวิทยาศาสตร์มาก ๆ (ส่วนตัวผมว่า จริง ๆ มันคือ รากฐานของ Physic ทฤษฏี สมัยใหม่คือ เอาสมการคณิตศาสตร์มหาศาล ทุ่มลงไป แล้วจินตนาการภาพเอา )
จากภาพเราจะได้ว่า ... แกน X คือ มิติที่เรียกว่าเวลา ... เวลาสามารถมีจุดอ้างอิงเริ่มต้น และมีจุดอ้างอิงสิ้นสุด และที่สำคัญที่สุด เวลามีทิศทาง
เช่นเดียวกับ แกน Y คือ มิติที่เรียกว่าระยะทาง ... ระยะทางสามารถมีจุดอ้างอิงเริ่มต้น และมีจุดอ้างอิงสิ้นสุด และที่สำคัญที่สุด ระยะทางมีทิศทาง
จากภาพ พื้นที่นี้คือ อยู่ในพื้นที่ขนาดเล็ก ในที่นี้คือ ใน Atom ด้านซ้าย อิเลคตรอน หรือ e- วิ่งจาก ซ้ายไปขวา และ บนลงล่าง หมายความว่า
e- วิ่งจากอดีตไปสู่อนาคต และ ระยะทางจาก บนลงล่าง เมือ e- decay เป็น photon (y) ฝั่งตรงข้ามคือ quark
หลังจาก decay แล้ว e- จะเปลี่ยนเป็น e+ หรือ positron และ วิ่งจาก ขวาไปซ้าย และ บนลงล่าง หมายความว่า p+ กำลังวิ่งย้อนเวลา ... อยู่ ?
นี่เป้นเหตุผลว่าทำไม quantum mechanics ถึงไม่ work ถ้า scale มันใหญ่กว่า Atom เพราะมันมีเหตุการณ์ที่อธิบายไม่ได้ แบบย้อนเวลา นี่แหละ
แต่ ... ภาพนี้ยังติด อยู่เรื่องหนึ่งนั่นคือ ยังคิดแบบ 4 มิติ อยู่นั่นคือ (กว้าง ยาว สูง) รวมกัน คือระยะทาง แล้วมี ระยะเวลา เป็น 4 มิติอยู่
ซึ่งจินตนาการเรื่อง ทิศทางของทั้งระยะทางและระยะเวลา มีทิศทางแล้ววิ่งย้อนเวลาได้ มันจะ... พังพินาศมาก ๆ แต่อย่างท่ผมอ้างมาตลอดทั้ง 3 ตอนนะครับ
คือ ถ้าเราจินตนาการแบบนี้คือ (กว้าง ยาว สูง) รวมกัน คือ วัตถุ ระยะทาง, ระยะเวลา, ระยะ gravity รวมกัน คือ space-time-gravity อย่างนี้ จะง่ายกว่ามาก
พอเป็นแบบนี้ผมจะแก้ภาพของ Feynman Diagram เป็นแบบนี้นะครับ คือ
1. วัตถุ 1 ทุกชนิด วิ่งอยู่บนพื้นผิวของจักรวาล เสมอ
2. วัตถุ มี 3 มิติเสมอ คือ (กว้าง ยาว สูง)
3. พื้นผิวของจักรวาล มี 3 แกน คือ X เวลา Y ระยะทาง และ Z คือ Gravity
4. พื้นผิวของจักรวาล มี Sub Surface หรือ พื้นผิว ย่อย 4 ชั้น จินตนาการ (แบบตัดแกน Z ออกไปก่อน) ว่า มีกระดาษ A4 จำนวน 4 ใบ แต่ละใบให้ เขียนทิศเหนือเอาไว้ทุกใบ นำกระดาษ 4 ใบนี้มา วางทับกันทีละใบ โดยให้หมุน กระดาษ 90 องศา วางซ้อนทับกันเราจะได้ ว่ากระดาษมีทิศเหนือ 4 ด้าน และเมื่อ เอาวัตถุ ไปวางบน กระดาษที่ซ้อนทับกัน 4 แผ่นนี้ แล้ว เคลื่อนที่ไปทิศใดก็ได้ กระดาษ 4 แผ่นจะให้คำตอบว่า วัตถุกำลังเคลื่อนที่ไปใน ทิศ เหนือ ใต้ ออก ตก ด้วยระยะทางที่เท่ากันเสมอ ผลรวมของระยะทางในทิศทัง 4 รวมกันจะได้ 0 สมบูรณ์เสมอ เพราะ ถ้ามีแผ่นนึงบอกว่า ไปขวา 4 unit อีก สามแผ่นจะบอกว่า ไปซ้าย ไปบน ไปล่าง 4 unit เสมอ ถ้าแกน X ได้การคำนวนได้ 0 เสมอ .. แกน Y และ แกน Z ก็ 0 เช่นกัน
5. ถ้า พื้นผิวของจักรวาล มี Sub Surface 4 ชั้นที่ SuSy ตัวเองให้ได้ค่า 0 เสมอ วัตถุบน กระดาษก็เช่นกัน จาก ภาพข้อ 1 เราจะได้เป็น วัตถุ 4 ชิ้น ซ้อนกัน วิ่งอยู่บน พื้นผิวของจักรวาล ที่ ซ้อนกัน 4 แผ่น กลายเป็น วัตถุแบบ multi dimenstion ที่วิ่งอยู่บน พื้นผิวที่เป็น multi dimenstion เหมือนกัน นั่นคือ วัตถุแบบ 3 วิติ ซ้อนกัน 4 วัตถุ ที่วิ่งอยู่บน พื้นผิว 3 มิติซ้อนกัน 4 พื้นผิว
ผมรู้ว่ามัน ยากนะ เพราะงั้นเราจะดูทีละ ชุดครับเพื่อลดความยากของมันลง ให้ดูแบบ
นี้ ... จาก ภาพ Iconic ของ Feynman diagram
https://en.wikipedia.org/wiki/Feynman_diagram ภาพเดิมนี่แหละ ถ้าเราจินตนาการว่า ...
จากด้านซ้ายบน อิเลคตรอน หรือ e- วิ่งจาก ซ้ายไปขวา และ บนลงล่าง ให้อ้างอิงเป็น วัตถุ 1 วิ่งอยู่บน พื้นผิว 1 หมายความว่า
e- วิ่งจากอดีตไปสู่อนาคต (ซ้ายไปขวา) และ ระยะทางจาก บนลงล่าง (วิ่งย้อนระยะทาง หรือ ระยะทางได้ค่า -)
เมือ e- decay เป็น photon (y) ฝั่งตรงข้ามคือ quark (ตรงนี้ให้คิดว่า วัตถุ 1 บน พื้นผิว 1 วิ่งทะลุ หลุมข้ามมิติ มา พื้นผิวที่ 2)
คือ หลังจาก decay แล้ว e- จะเปลี่ยนเป็น e+ หรือ positron (วัตถุ 1 เป็น วัตถุ 2)
และ วิ่งจาก ขวาไปซ้าย และ บนลงล่าง หมายความว่า p+ วิ่งไปข้างหน้า ตามปรกติ .. แต่ ทิศทางของพื้นผิว มันหมุนไป 90 องศา
เลยดูเหมือนกำลังวิ่งย้อนเวลาอยู่
ถ้าเข้าใจมาถึง ตรงนี้ และ ธาตุไฟไม่เข้าแทรก เลือดออกจมูกแล้วนะครับ
ถ้าผม ติ๊งต่างให้เป็นอย่างนี้ นะครับ
วัตถุ 4 ชิ้น ซ้อนอยู่ ที่จุดเดียวกัน บนพื้นผิวที่ มี 4 แบบทำมุมกัน 90 องศาพอดี
คือ e-, e+ และ ติ่งต่างว่ามี particle ของ แม่เหล็ก อีก 2 แบบคือ (e-), (e+) วิ่งอยู่บน
พื้นผิว 4 แบบ อยู่ ดีๆ เราก็ได้ electromagnetic เฉยเลย ง่าย ๆ ด้วย (ง่าย ?)
คือ Electron ถ้าวิ่งสลับแผ่น sub-space จะได้ แม่เหล็ก วิ่งสลับแผ่น sub-space อีกครั้งจะกลับมาเป็น Electron (แต่ได้ กระแสกลับด้าน)
เป็น e- แม่เหล็ก - e+ แม่เหล็ก - แล้วก็วิ่งกลับไปเป็น e- ใหม่ วนไปเรื่อยๆ
หรือ ...
ถ้าผมจินตนาการว่า sub-space ซ้อนกัน 4 แผ่น วางซ้อนกันไปเรื่อย ๆ จริง ๆ มันมีความสูงอยู่ แต่เพราะมัน SuSy ตัวมันเอง = 0 เสมอ ในทุกแกน
ในการรับรู้ของเราที่เป็น 3 มิติ มองไปรอบ ๆ ตัว เราเลยไม่รู้ว่าจริง ๆ มันสูงเท่าไหร่ ? .... ถ้าเราไม่คิดว่า มันคือ สิ่งที่เรียกว่า อุณหภูมิ
ยิ่งสูง อุณหภูมิ ก็ยิ่งสูง ยิ่งต่ำ อุณหภูมิ ก็ยิ่งต่ำ ถ้าเราเอา น้ำใส่แก้วไปวางไว้บน พื้นผิวของจักรวาล ที่วางซ้อนทับไปเรื่อย ๆ จนมันสูง... จน
ทะลุมิติจักรวาล ที่น้ำจะสามารถ คงสภาพเป็นน้ำได้อยู่ ... มันจะกลายเป็นไอน้ำ (จินตนาการว่า วัตถุ กระโดดจาก sub-space จาก แผ่น 1 ไป 2 ของแผ่น 2 ไป 3 ของแผ่น 3 ไป 4 และแผ่น 4 กระโดดกลับไป แผ่นที่ 1 .. ดันได้การเปลี่ยนสถาณะของสสาร แถมฟรีมาอีก.. )
หรือ ...
ถ้าผมจินตนาการว่า แสง มัน decay กลายเป็น Atom H1 ได้ยังไง ก็ดูที่ ตอนที่ 1
https://ppantip.com/topic/41968033
ตรง Pion นั่นแหละ ครับ ออกมาได้ Atom H1 ตรง Standard model นะครับเป๊ะเลย
ถ้าตามนี้จริง quantum mechanics ก็ไม่ได้ใช้อยู่ในระยะ ภายใน Atom ก็ได้ หรือ ทำให้เราเข้าใจได้เพิ่มขึ้นว่า พื้นผิวของ จักรวาล จริง ๆ มี 12 มิติ วัตถุทุกชิ้นก็มี 12 มิติ ถ้าอยู่ในจุดที่ซ้อนทับกัน อย่างใน Atom จริง ๆ ต้องจินตนาการเป้น multi dimention ทั้งหมด เป็น วัตถุ 3 มิติไม่ได้ หรือ 3 มิติบนพื้นผิวที่เรียกว่าเวลา ก็ไม่ได้ ตัวเลขมันล๊อกไว้ที่ 12,12 หรือ [3,3,3,3][3,3,3,3] เท่านั้น ไม่มีอย่างอื่นนะครับ
ขอตัวไป กระอักเลือดมุมปาก เหมือน ฮ่องเต้โดนวางยา แป๊บนึง
แต่พื้นฐานก็ประมาณนี้แหละครับ ไม่ต้องคิดมากนะครับ เวลาผ่านมาแล้ว 120 ปี คนเข้าใจ space-time โคงงอของ Einstien ผมว่ามีไม่เยอะ .. ครับ
ตามนั้น .... เดือนหน้าจะโพสอะไรต่อดี ?
ผมคิดว่า Feynman Diagram มันทำงานแบบนี้นะครับ (กระทู้ชวนคุย) ประจำเดือน สิงหาคม
ตอนที่ 1
https://ppantip.com/topic/41968033
ตอนที่ 2
https://ppantip.com/topic/42005266
ตอนที่ 3
https://ppantip.com/topic/42086472
... วันนึง เมื่อประมาณ 9 ปีก่อนน่าจะได้ สมัยที่ โลกยังไม่รู้จัก Covid-19 และทุกคนยังต้องนั่งรถตู้ ในการเดินทางช่วงเช้า-เย็น กันอยู่ ผมก็เป็นคนนึงที่ยังต้องรอคิวรถ แล้วก็นั่งคู้ขาในที่แคบ ๆ ประมาณวันละ 2 ช.ม. เพื่อไปทำงานใจกลางเมืองอย่างที่คนส่วนใหญ่เค้าทำกัน
ตอนนั้นผมเลยมีเวลาอ่าน Richard Feynman - QED, The strange Theory of Light and Matter และนั่งคิดเรื่องนี้อยู่ วันละ 2 ช.ม. เป็นอย่างต่ำอยู่ประมาณ 1 ปีถ้วน ๆ และนี่คือสิ่งที่ผมคิดเป็นภาพออกมาได้นะครับ ...
เราเริ่มจาก ภาพของ Feynman ก่อน (ประมาณนี้ ... https://en.wikipedia.org/wiki/Feynman_diagram)
ภาพด้านขวาของ Wiki เป็นภาพ Iconic ของ Feynman diagram วิธีเข้าใจภาพคือ เราไม่ต้องไปสนว่า สมการมหาศาลที่คำนวนยากฉิบ มาจากใหนมาได้ยังไง แต่นักวิทยาศาสตร์ มีชื่อเสียงจำนวนมาก คำนวนมาแล้ว ถูกต้อง .. เชื่อตามนี้แหละ ซึ่งเป็นวิธีการที่ revolution การเข้าใจทางวิทยาศาสตร์มาก ๆ (ส่วนตัวผมว่า จริง ๆ มันคือ รากฐานของ Physic ทฤษฏี สมัยใหม่คือ เอาสมการคณิตศาสตร์มหาศาล ทุ่มลงไป แล้วจินตนาการภาพเอา )
จากภาพเราจะได้ว่า ... แกน X คือ มิติที่เรียกว่าเวลา ... เวลาสามารถมีจุดอ้างอิงเริ่มต้น และมีจุดอ้างอิงสิ้นสุด และที่สำคัญที่สุด เวลามีทิศทาง
เช่นเดียวกับ แกน Y คือ มิติที่เรียกว่าระยะทาง ... ระยะทางสามารถมีจุดอ้างอิงเริ่มต้น และมีจุดอ้างอิงสิ้นสุด และที่สำคัญที่สุด ระยะทางมีทิศทาง
จากภาพ พื้นที่นี้คือ อยู่ในพื้นที่ขนาดเล็ก ในที่นี้คือ ใน Atom ด้านซ้าย อิเลคตรอน หรือ e- วิ่งจาก ซ้ายไปขวา และ บนลงล่าง หมายความว่า
e- วิ่งจากอดีตไปสู่อนาคต และ ระยะทางจาก บนลงล่าง เมือ e- decay เป็น photon (y) ฝั่งตรงข้ามคือ quark
หลังจาก decay แล้ว e- จะเปลี่ยนเป็น e+ หรือ positron และ วิ่งจาก ขวาไปซ้าย และ บนลงล่าง หมายความว่า p+ กำลังวิ่งย้อนเวลา ... อยู่ ?
นี่เป้นเหตุผลว่าทำไม quantum mechanics ถึงไม่ work ถ้า scale มันใหญ่กว่า Atom เพราะมันมีเหตุการณ์ที่อธิบายไม่ได้ แบบย้อนเวลา นี่แหละ
แต่ ... ภาพนี้ยังติด อยู่เรื่องหนึ่งนั่นคือ ยังคิดแบบ 4 มิติ อยู่นั่นคือ (กว้าง ยาว สูง) รวมกัน คือระยะทาง แล้วมี ระยะเวลา เป็น 4 มิติอยู่
ซึ่งจินตนาการเรื่อง ทิศทางของทั้งระยะทางและระยะเวลา มีทิศทางแล้ววิ่งย้อนเวลาได้ มันจะ... พังพินาศมาก ๆ แต่อย่างท่ผมอ้างมาตลอดทั้ง 3 ตอนนะครับ
คือ ถ้าเราจินตนาการแบบนี้คือ (กว้าง ยาว สูง) รวมกัน คือ วัตถุ ระยะทาง, ระยะเวลา, ระยะ gravity รวมกัน คือ space-time-gravity อย่างนี้ จะง่ายกว่ามาก
พอเป็นแบบนี้ผมจะแก้ภาพของ Feynman Diagram เป็นแบบนี้นะครับ คือ
1. วัตถุ 1 ทุกชนิด วิ่งอยู่บนพื้นผิวของจักรวาล เสมอ
2. วัตถุ มี 3 มิติเสมอ คือ (กว้าง ยาว สูง)
3. พื้นผิวของจักรวาล มี 3 แกน คือ X เวลา Y ระยะทาง และ Z คือ Gravity
4. พื้นผิวของจักรวาล มี Sub Surface หรือ พื้นผิว ย่อย 4 ชั้น จินตนาการ (แบบตัดแกน Z ออกไปก่อน) ว่า มีกระดาษ A4 จำนวน 4 ใบ แต่ละใบให้ เขียนทิศเหนือเอาไว้ทุกใบ นำกระดาษ 4 ใบนี้มา วางทับกันทีละใบ โดยให้หมุน กระดาษ 90 องศา วางซ้อนทับกันเราจะได้ ว่ากระดาษมีทิศเหนือ 4 ด้าน และเมื่อ เอาวัตถุ ไปวางบน กระดาษที่ซ้อนทับกัน 4 แผ่นนี้ แล้ว เคลื่อนที่ไปทิศใดก็ได้ กระดาษ 4 แผ่นจะให้คำตอบว่า วัตถุกำลังเคลื่อนที่ไปใน ทิศ เหนือ ใต้ ออก ตก ด้วยระยะทางที่เท่ากันเสมอ ผลรวมของระยะทางในทิศทัง 4 รวมกันจะได้ 0 สมบูรณ์เสมอ เพราะ ถ้ามีแผ่นนึงบอกว่า ไปขวา 4 unit อีก สามแผ่นจะบอกว่า ไปซ้าย ไปบน ไปล่าง 4 unit เสมอ ถ้าแกน X ได้การคำนวนได้ 0 เสมอ .. แกน Y และ แกน Z ก็ 0 เช่นกัน
5. ถ้า พื้นผิวของจักรวาล มี Sub Surface 4 ชั้นที่ SuSy ตัวเองให้ได้ค่า 0 เสมอ วัตถุบน กระดาษก็เช่นกัน จาก ภาพข้อ 1 เราจะได้เป็น วัตถุ 4 ชิ้น ซ้อนกัน วิ่งอยู่บน พื้นผิวของจักรวาล ที่ ซ้อนกัน 4 แผ่น กลายเป็น วัตถุแบบ multi dimenstion ที่วิ่งอยู่บน พื้นผิวที่เป็น multi dimenstion เหมือนกัน นั่นคือ วัตถุแบบ 3 วิติ ซ้อนกัน 4 วัตถุ ที่วิ่งอยู่บน พื้นผิว 3 มิติซ้อนกัน 4 พื้นผิว
ผมรู้ว่ามัน ยากนะ เพราะงั้นเราจะดูทีละ ชุดครับเพื่อลดความยากของมันลง ให้ดูแบบ
นี้ ... จาก ภาพ Iconic ของ Feynman diagram https://en.wikipedia.org/wiki/Feynman_diagram ภาพเดิมนี่แหละ ถ้าเราจินตนาการว่า ...
จากด้านซ้ายบน อิเลคตรอน หรือ e- วิ่งจาก ซ้ายไปขวา และ บนลงล่าง ให้อ้างอิงเป็น วัตถุ 1 วิ่งอยู่บน พื้นผิว 1 หมายความว่า
e- วิ่งจากอดีตไปสู่อนาคต (ซ้ายไปขวา) และ ระยะทางจาก บนลงล่าง (วิ่งย้อนระยะทาง หรือ ระยะทางได้ค่า -)
เมือ e- decay เป็น photon (y) ฝั่งตรงข้ามคือ quark (ตรงนี้ให้คิดว่า วัตถุ 1 บน พื้นผิว 1 วิ่งทะลุ หลุมข้ามมิติ มา พื้นผิวที่ 2)
คือ หลังจาก decay แล้ว e- จะเปลี่ยนเป็น e+ หรือ positron (วัตถุ 1 เป็น วัตถุ 2)
และ วิ่งจาก ขวาไปซ้าย และ บนลงล่าง หมายความว่า p+ วิ่งไปข้างหน้า ตามปรกติ .. แต่ ทิศทางของพื้นผิว มันหมุนไป 90 องศา
เลยดูเหมือนกำลังวิ่งย้อนเวลาอยู่
ถ้าเข้าใจมาถึง ตรงนี้ และ ธาตุไฟไม่เข้าแทรก เลือดออกจมูกแล้วนะครับ
ถ้าผม ติ๊งต่างให้เป็นอย่างนี้ นะครับ
วัตถุ 4 ชิ้น ซ้อนอยู่ ที่จุดเดียวกัน บนพื้นผิวที่ มี 4 แบบทำมุมกัน 90 องศาพอดี
คือ e-, e+ และ ติ่งต่างว่ามี particle ของ แม่เหล็ก อีก 2 แบบคือ (e-), (e+) วิ่งอยู่บน
พื้นผิว 4 แบบ อยู่ ดีๆ เราก็ได้ electromagnetic เฉยเลย ง่าย ๆ ด้วย (ง่าย ?)
คือ Electron ถ้าวิ่งสลับแผ่น sub-space จะได้ แม่เหล็ก วิ่งสลับแผ่น sub-space อีกครั้งจะกลับมาเป็น Electron (แต่ได้ กระแสกลับด้าน)
เป็น e- แม่เหล็ก - e+ แม่เหล็ก - แล้วก็วิ่งกลับไปเป็น e- ใหม่ วนไปเรื่อยๆ
หรือ ...
ถ้าผมจินตนาการว่า sub-space ซ้อนกัน 4 แผ่น วางซ้อนกันไปเรื่อย ๆ จริง ๆ มันมีความสูงอยู่ แต่เพราะมัน SuSy ตัวมันเอง = 0 เสมอ ในทุกแกน
ในการรับรู้ของเราที่เป็น 3 มิติ มองไปรอบ ๆ ตัว เราเลยไม่รู้ว่าจริง ๆ มันสูงเท่าไหร่ ? .... ถ้าเราไม่คิดว่า มันคือ สิ่งที่เรียกว่า อุณหภูมิ
ยิ่งสูง อุณหภูมิ ก็ยิ่งสูง ยิ่งต่ำ อุณหภูมิ ก็ยิ่งต่ำ ถ้าเราเอา น้ำใส่แก้วไปวางไว้บน พื้นผิวของจักรวาล ที่วางซ้อนทับไปเรื่อย ๆ จนมันสูง... จน
ทะลุมิติจักรวาล ที่น้ำจะสามารถ คงสภาพเป็นน้ำได้อยู่ ... มันจะกลายเป็นไอน้ำ (จินตนาการว่า วัตถุ กระโดดจาก sub-space จาก แผ่น 1 ไป 2 ของแผ่น 2 ไป 3 ของแผ่น 3 ไป 4 และแผ่น 4 กระโดดกลับไป แผ่นที่ 1 .. ดันได้การเปลี่ยนสถาณะของสสาร แถมฟรีมาอีก.. )
หรือ ...
ถ้าผมจินตนาการว่า แสง มัน decay กลายเป็น Atom H1 ได้ยังไง ก็ดูที่ ตอนที่ 1
https://ppantip.com/topic/41968033
ตรง Pion นั่นแหละ ครับ ออกมาได้ Atom H1 ตรง Standard model นะครับเป๊ะเลย
ถ้าตามนี้จริง quantum mechanics ก็ไม่ได้ใช้อยู่ในระยะ ภายใน Atom ก็ได้ หรือ ทำให้เราเข้าใจได้เพิ่มขึ้นว่า พื้นผิวของ จักรวาล จริง ๆ มี 12 มิติ วัตถุทุกชิ้นก็มี 12 มิติ ถ้าอยู่ในจุดที่ซ้อนทับกัน อย่างใน Atom จริง ๆ ต้องจินตนาการเป้น multi dimention ทั้งหมด เป็น วัตถุ 3 มิติไม่ได้ หรือ 3 มิติบนพื้นผิวที่เรียกว่าเวลา ก็ไม่ได้ ตัวเลขมันล๊อกไว้ที่ 12,12 หรือ [3,3,3,3][3,3,3,3] เท่านั้น ไม่มีอย่างอื่นนะครับ
ขอตัวไป กระอักเลือดมุมปาก เหมือน ฮ่องเต้โดนวางยา แป๊บนึง
แต่พื้นฐานก็ประมาณนี้แหละครับ ไม่ต้องคิดมากนะครับ เวลาผ่านมาแล้ว 120 ปี คนเข้าใจ space-time โคงงอของ Einstien ผมว่ามีไม่เยอะ .. ครับ
ตามนั้น .... เดือนหน้าจะโพสอะไรต่อดี ?