ความเดิมตอนที่แล้ว
https://ppantip.com/topic/41968033
ผมคิดได้ นานแล้วหล่ะ ว่า คิดเอง เก็บไว้อ่านเองก็แค่นั้นแหละ สู้ สรุปมาดี ๆ แล้ว โพสไปเลยดีกว่า เพราะเรื่องฟิสิกส์ ทฤษฎี ผมว่าถ้ามีเหตุผลมากพอ ทุกคนมีสิทธิ์เสนอความเห็นได้ .. แม้ว่าความเห็นผมมันจะดูแปลกขนาด โดนจับไปอยู่ห้องไสยศาสตร์ บ่อย ๆ ก็ตาม .. ฮ่ะๆ
ให้เห็นภาพคร่าว ๆ ก่อนนะครับ คือ ประมาณนี้ ...
ผมอ้างอิงถึงการทดลองของ คนแรก นั่นคือ การทดลองของ กาลิเลโอ ( ถ้าเราอ่านบน internet ไปเยอะ ๆ แล้ว เราจะพบว่า จริง ๆ แล้ว ไม่รู้เหมือนกันว่า สมัยนั้นได้ทดลองจริงหรือเปล่านะครับ ) แต่โดย Concept หรือ ภาพที่เราจินตนาการได้ คือ เมื่อ ขึ้นไปบนหอคอย แล้ว ผลักก้อนหินใหญ่ กับ ก้อนเล็ก ให้ตกมาถึงพื้น มันดันตกลงมาถึงพื้นโลกพร้อมกัน ด้วยอัตราเร่งเท่ากัน (ถ้านึกดี ๆ น่าจะตะหงิด ๆ แล้วว่า Gravity รู้ได้ยังไงว่าต้องส่งแรงกระทำกับ วัตถุชิ้นใหญ่กว่า ด้วยแรงที่มากกว่าหว่า ?)
ซึ่ง NASA เคยไปทำการทดลองนี้บนดวงจันทร์ และ ห้องพิเศษที่สูบอากาศออกจนหมด แล้ว ได้ผลเหมือนกันคือ ถ้าเราทิ้งขนนก กับก้อนหิน ลงจากที่สูง และไม่มีแรงต้านอากาศ มันจะตกลงถึงพื้นพร้อมกัน โดย แรงโน้มถ่วง ถ้าทดลองบนโลก ก็จะเป็น แรง G ที่มีค่าอัตราเร่งเท่ากับ 9.8 m/sec ยกกำลัง 2 เกิดจากการคำนวนและ สร้างอุปกรณ์ขึ้นมาวัดผล
ซึ่งตรงนี้เราเรียกว่า Newton's law of gravitation ซึ่ง มีข้อแม้ในการใช้งานนิดหน่อย คือ ใช้ได้ในระบบสุริยะ ถ้าใช้งานในที่ ๆ มี Gravity แรงสูงมาก ๆ หรือ เบามาก ๆ มันจะไม่ได้ผลการคำนวนที่แม่นยำ ถ้าอยากให้แม่นยำในพื้นที่ ๆ Gravity แรงสูงมาก ๆ จะใช้ การคำนวนของ Einstien แทน คือ ใช้ General Relativity ภาพที่จินตนาการกันคือ สนาม Space-Time โค้งงอ ทำให้เวลาเดินช้าลง แต่ในส่วนที่ Gravity เบามาก ๆ เช่นระดับ Atom ก็ .. เอ่อ .. กำลังคิดกันอยู่ว่า จะเอายังไง ( สรุปคือคิดไม่ออกนั่นแหละ แต่ได้แนวออกมาแล้วว่าชื่อ Quantum Gravity )
ซึ่ง General Relativity ทำให้เกิดปัญหา paradox ตามมาอีก 2-3 ข้อ เช่น Time Dilation หรือ Space-Time โค้งงอมากจนเกินไป อย่างหลุมดำมนุษย์เราสิ้นสุดการจินตนาการภาพที่ตรงนี้ เหนือกว่านี้ จินตนาการกันไม่ออกแล้ว
เรามาถึงตรงนี้ คราวนี้ จะเป็นภาพในหัวผม นะครับ ภาพ ... เป็นแบบนี้
กลับไปที่ การทดลองของ กาลิเลโอ ...
ผมวาดภาพใหม่ เป็นแบบนี้
ขึ้นไปบนหอคอย แล้ว ผลักก้อนหินใหญ่ กับ ก้อนเล็ก ให้ตกมาถึงพื้นสิ่งที่เกิดขึ้นคือ ...
วัตถุน้ำหนักน้อย โค้งงอสนาม space-time น้อย เวลาเดินเร็ว และ 1 หน่วยของระยะทาง จะหดสั้นลง
วัตถุน้ำหนักมาก โค้งงอสนาม space-time มาก เวลาเดินช้า และ 1 หน่วยของระยะทาง จะยืดยาวออก
ผู้วัดผล ที่ยืนวัดผลอยู่ มีค่า โค้งงอสนาม space-time ค่าหนึ่ง และมี 1 หน่วยของระยะทาง เป็นของตนเอง
สิ่งที่เพิ่มขึ้นมาจาก General Relativity คือ ถ้าการโค้งงอ สนาม space-time ทำให้เกิดผลคือ เวลาเดินช้าลง
หรือ เร็วขึ้นได้ ก็ทำให้ 1 unit ของระยะทาง เพิ่มขึ้น หรือ ลดลงได้ เช่นกัน ... และ อัตราการไหลของ
ทั้ง ระยะเวลา และ ระยะทาง นั่นจะมีวัตถุนั่น เท่านั้นที่มองเห็น
เช่น ... ผมกำหนดให้ ปล่อยวัตถุ ทั้งสองลงจาก หอคอย สูง 10m ลงสู่พื้น กำหนดให้ G = 10m/s กำลังสอง
(เพื่อความง่ายในการคำนวน ตัวเลขไม่ถูกนะครับ แต่ให้เห็นภาพว่ามัน balance กันยังไง เลยใช้ตัวเลข ให้ดูเหมือนมันลงตัวนะครับ ของจริงเลขไม่ใช่แบบนี้นะครับ)
สิ่งที่เกิดขึ้นคือ ...
วัตถุน้ำหนักน้อย ติ๊งต่างว่า มวล = 1g มองเห็นจักรวาลนี้ว่า ...
ตัวมันและหินก้อนที่หนักมากกว่ามัน ตกลงบนพื้นโลก ด้วย ระยะทาง 100m ใช้เวลาไปทั้งหมด 10 วินาที จึงถึงพื้น
วัตถุน้ำหนักมาก ติ๊งต่างว่า มวล = 10000g วัดผลตัวมันเองแล้วบอกว่า
ตัวมันและหินก้อนที่หนักน้อยกว่ามัน ตกลงบนพื้นโลก ด้วย ระยะทาง 1m ใช้เวลาไปทั้งหมด 0.1 วินาที จึงถึงพื้น
ผมและคุณ คือ .. ผู้วัดผล ที่ยืนวัดผลอยู่ ทุกคนแจ้งผลการทดลองว่า
วัตถุทั้งสองชิ้น ตกลงถึงพื้น ระยะทาง 10m ใช้เวลาไป 1 วินาที จึงถึงพื้น ด้วยอัตราเร่ง .. เท่ากัน
อาจจะฟังดูงง หน่อยนะครับ แต่ การวาดภาพในหัวแบบนี้ทำให้ อยู่ดี ๆ เราสามารถใช้แนวคิดของ General Relativity ใส่ลงไปใน แนวคิดของ Newton ได้เลยโดยไม่มีใครผิด ใช้งานในระดับ Space ก็ได้ Quantum Scale ก็ได้ และ ดูจาก การ Balance โดยตัวมันเองจะพบว่า ไม่ว่าจะหินก้อนเล็กหรือใหญ่หรือผู้สังเกต ไม่ว่า ระยะเวลาจะบิดเบี้ยวขนาดใหน วัตถุทุกชิ้นที่เราอ้างถึง ก็ยังคงจะ วัดผลความเร็วแสงได้เท่าเดิมเสมอคือประมาณ 300,000 km/s แต่ ระยะทางของใครของมัน ระยะเวลาเดินช้า-เร็วของใครของมันเช่นกัน
ถ้าผมบอกว่า ภาพของจักรวาลนี้ จริง ๆ มีขั้นต่ำสุด แยกออกมาทั้งหมดมี 6 มิติ คือ
1. กว้าง 2. ยาว 3. สูง (จะได้ วัตถุแบบ 3 มิติออกมา)
4. ระยะเวลา 5. ระยะทาง และ 6. ระยะ gravity (จะได้ space-time-gravity ออกมา)
เพราะงั้น กว้าง x ยาว x สูง ไม่ใช่ space แต่เป็นขนาดของ object
ระยะเวลา ระยะทาง และ ระยะ gravity จะเป็นแนวคิดแบบ มิติพิเศษเหมือน ที่เราจินตนาการถึง เวลา
ถ้าผมลองเอา logic นี้ ไปใช้กับ หลุมดำ และ ระดับ Atomic ดูจะได้
1 เพื่อไม่ให้ เกิดค่าหาร 0 พอคิดแล้วติด error การคำนวน ผมให้ หลุมดำโค้งงอสนาม space-time ที่ น้อยกว่า infinity ไป 1 unit ถ้าเราเทียบแนวความคิด ว่ามันคือ หินก้อนที่หนัก เราจะได้ว่า หลุมดำ เวลาเดินช้า เข้าใกล้ 0 จน เวลา 1 planck scale นานเท่ากับ 13.78 พันล้านปีแสง และ 1 หน่วยของระยะทาง planck scale จะยืดยาวออกจนไปสุดที่ค่า 13.78 พันล้านปีแสง เพราะงั้น หลุมดำทุกหลุม ในจักรวาล จริง ๆ มองเห็นระยะ 13.78 พันล้านปีแสงรอบ ๆ ตัวมัน อยู่ใกล้แค่ ระยะ 1 planck scale จึงเป็นเหตุผลว่า ทำไม แรงที่ชื่อ Gravity ถึงส่งได้ไกลมาก ๆ ในอวกาศเพราะจริง ๆ มันไม่ไกล มันใกล้มาก และต่อให้ถ้าหลุมดำ มีอายุ 1 วินาทีก่อนที่มันจะ decay หายไป เวลาของผู้สังเกตด้านนอกจะเท่ากับ เอ่อ ... 13.78 พันล้านปี คือ (4.3x10 ยกกำลัง 17) แล้ว x ด้วย plank unit คือ (10 ยกกำลัง 44 วินาที) หรือก็คือ (4,30 ... ใส่ 0 ไปอีก 50 ตัว วินาที โดย 1 ปี จะประมาณ 31.5 ล้านวินาที) เพราะงั้นอายุ หลุมดำ 1 วินาที สำหรับผู้สังเกตการบนโลกคือราว ๆ 10 x 10 ยกกำลัง 44 ปี ... นานพอแน่นอน สำหรับอายุจักรวาลของจริง ไม่ได้หลอกเด็กที่แค่ 13.78 พันล้านปี
2 ในทางกลับกัน ผมให้ ระดับ Atomic เทียบกับหินก้อนเบา ระดับนี้ โค้งงอสนาม space-time น้อย เวลาเดินเร็วมาก 1 unit ของระยะทางหดสั้นลง จนขนาดของ Atom H ประมาณ 37 x 10 ยกกำลัง ลบ 12 จะบอกว่า เห้ย จริง ๆ ผมอยู่ใน ระยะทางที่มีขนาดค่าความกว้างเท่ากับ 13.78 พันล้านปีแสงนะ .. คุณคงมองเห็นภาพแล้วว่า ทำไมต่อให้มีหลุมดำกำลังสูงมากอยู่ภายใน Atom แรง Gravity ภายในก็จะไม่รั่วออกมา นอกผิวของ Atom เลยแม้แต่น้อย เพราะระยะทางนั้นไกลเกินระยะ 13.78 พันล้านปีแสง ไปแล้ว
ถ้าทั้งหมดนี้ work จริง .. แสดงว่า ทุกวันนี้เราเข้าใจ สลับกันมาตลอด เรื่องระยะทางและระยะเวลานะครับ
จริง ๆ มีอื่น ๆ อีกมากมาย ที่ผม unlock ได้นะ แต่เอาแค่นี้ก็บ้าพอแล้วหล่ะ ... แต่ผมบ้าได้มากกว่านั้น
เดือนหน้า ผมจะโพสว่า ผมมอง photon เป็นแบบใหนนะครับ รับรองว่า ไม่เหมือนใครครับ ตามนั้น
กระทู้ชวนคุย เดือน พฤษภา... ผมว่า Gravity มันทำงานแบบนี้ครับผม .. พวกคุณ คิดว่ายังไงครับ ?
https://ppantip.com/topic/41968033
ผมคิดได้ นานแล้วหล่ะ ว่า คิดเอง เก็บไว้อ่านเองก็แค่นั้นแหละ สู้ สรุปมาดี ๆ แล้ว โพสไปเลยดีกว่า เพราะเรื่องฟิสิกส์ ทฤษฎี ผมว่าถ้ามีเหตุผลมากพอ ทุกคนมีสิทธิ์เสนอความเห็นได้ .. แม้ว่าความเห็นผมมันจะดูแปลกขนาด โดนจับไปอยู่ห้องไสยศาสตร์ บ่อย ๆ ก็ตาม .. ฮ่ะๆ
ให้เห็นภาพคร่าว ๆ ก่อนนะครับ คือ ประมาณนี้ ...
ผมอ้างอิงถึงการทดลองของ คนแรก นั่นคือ การทดลองของ กาลิเลโอ ( ถ้าเราอ่านบน internet ไปเยอะ ๆ แล้ว เราจะพบว่า จริง ๆ แล้ว ไม่รู้เหมือนกันว่า สมัยนั้นได้ทดลองจริงหรือเปล่านะครับ ) แต่โดย Concept หรือ ภาพที่เราจินตนาการได้ คือ เมื่อ ขึ้นไปบนหอคอย แล้ว ผลักก้อนหินใหญ่ กับ ก้อนเล็ก ให้ตกมาถึงพื้น มันดันตกลงมาถึงพื้นโลกพร้อมกัน ด้วยอัตราเร่งเท่ากัน (ถ้านึกดี ๆ น่าจะตะหงิด ๆ แล้วว่า Gravity รู้ได้ยังไงว่าต้องส่งแรงกระทำกับ วัตถุชิ้นใหญ่กว่า ด้วยแรงที่มากกว่าหว่า ?)
ซึ่ง NASA เคยไปทำการทดลองนี้บนดวงจันทร์ และ ห้องพิเศษที่สูบอากาศออกจนหมด แล้ว ได้ผลเหมือนกันคือ ถ้าเราทิ้งขนนก กับก้อนหิน ลงจากที่สูง และไม่มีแรงต้านอากาศ มันจะตกลงถึงพื้นพร้อมกัน โดย แรงโน้มถ่วง ถ้าทดลองบนโลก ก็จะเป็น แรง G ที่มีค่าอัตราเร่งเท่ากับ 9.8 m/sec ยกกำลัง 2 เกิดจากการคำนวนและ สร้างอุปกรณ์ขึ้นมาวัดผล
ซึ่งตรงนี้เราเรียกว่า Newton's law of gravitation ซึ่ง มีข้อแม้ในการใช้งานนิดหน่อย คือ ใช้ได้ในระบบสุริยะ ถ้าใช้งานในที่ ๆ มี Gravity แรงสูงมาก ๆ หรือ เบามาก ๆ มันจะไม่ได้ผลการคำนวนที่แม่นยำ ถ้าอยากให้แม่นยำในพื้นที่ ๆ Gravity แรงสูงมาก ๆ จะใช้ การคำนวนของ Einstien แทน คือ ใช้ General Relativity ภาพที่จินตนาการกันคือ สนาม Space-Time โค้งงอ ทำให้เวลาเดินช้าลง แต่ในส่วนที่ Gravity เบามาก ๆ เช่นระดับ Atom ก็ .. เอ่อ .. กำลังคิดกันอยู่ว่า จะเอายังไง ( สรุปคือคิดไม่ออกนั่นแหละ แต่ได้แนวออกมาแล้วว่าชื่อ Quantum Gravity )
ซึ่ง General Relativity ทำให้เกิดปัญหา paradox ตามมาอีก 2-3 ข้อ เช่น Time Dilation หรือ Space-Time โค้งงอมากจนเกินไป อย่างหลุมดำมนุษย์เราสิ้นสุดการจินตนาการภาพที่ตรงนี้ เหนือกว่านี้ จินตนาการกันไม่ออกแล้ว
เรามาถึงตรงนี้ คราวนี้ จะเป็นภาพในหัวผม นะครับ ภาพ ... เป็นแบบนี้
กลับไปที่ การทดลองของ กาลิเลโอ ...
ผมวาดภาพใหม่ เป็นแบบนี้
ขึ้นไปบนหอคอย แล้ว ผลักก้อนหินใหญ่ กับ ก้อนเล็ก ให้ตกมาถึงพื้นสิ่งที่เกิดขึ้นคือ ...
วัตถุน้ำหนักน้อย โค้งงอสนาม space-time น้อย เวลาเดินเร็ว และ 1 หน่วยของระยะทาง จะหดสั้นลง
วัตถุน้ำหนักมาก โค้งงอสนาม space-time มาก เวลาเดินช้า และ 1 หน่วยของระยะทาง จะยืดยาวออก
ผู้วัดผล ที่ยืนวัดผลอยู่ มีค่า โค้งงอสนาม space-time ค่าหนึ่ง และมี 1 หน่วยของระยะทาง เป็นของตนเอง
สิ่งที่เพิ่มขึ้นมาจาก General Relativity คือ ถ้าการโค้งงอ สนาม space-time ทำให้เกิดผลคือ เวลาเดินช้าลง
หรือ เร็วขึ้นได้ ก็ทำให้ 1 unit ของระยะทาง เพิ่มขึ้น หรือ ลดลงได้ เช่นกัน ... และ อัตราการไหลของ
ทั้ง ระยะเวลา และ ระยะทาง นั่นจะมีวัตถุนั่น เท่านั้นที่มองเห็น
เช่น ... ผมกำหนดให้ ปล่อยวัตถุ ทั้งสองลงจาก หอคอย สูง 10m ลงสู่พื้น กำหนดให้ G = 10m/s กำลังสอง
(เพื่อความง่ายในการคำนวน ตัวเลขไม่ถูกนะครับ แต่ให้เห็นภาพว่ามัน balance กันยังไง เลยใช้ตัวเลข ให้ดูเหมือนมันลงตัวนะครับ ของจริงเลขไม่ใช่แบบนี้นะครับ)
สิ่งที่เกิดขึ้นคือ ...
วัตถุน้ำหนักน้อย ติ๊งต่างว่า มวล = 1g มองเห็นจักรวาลนี้ว่า ...
ตัวมันและหินก้อนที่หนักมากกว่ามัน ตกลงบนพื้นโลก ด้วย ระยะทาง 100m ใช้เวลาไปทั้งหมด 10 วินาที จึงถึงพื้น
วัตถุน้ำหนักมาก ติ๊งต่างว่า มวล = 10000g วัดผลตัวมันเองแล้วบอกว่า
ตัวมันและหินก้อนที่หนักน้อยกว่ามัน ตกลงบนพื้นโลก ด้วย ระยะทาง 1m ใช้เวลาไปทั้งหมด 0.1 วินาที จึงถึงพื้น
ผมและคุณ คือ .. ผู้วัดผล ที่ยืนวัดผลอยู่ ทุกคนแจ้งผลการทดลองว่า
วัตถุทั้งสองชิ้น ตกลงถึงพื้น ระยะทาง 10m ใช้เวลาไป 1 วินาที จึงถึงพื้น ด้วยอัตราเร่ง .. เท่ากัน
อาจจะฟังดูงง หน่อยนะครับ แต่ การวาดภาพในหัวแบบนี้ทำให้ อยู่ดี ๆ เราสามารถใช้แนวคิดของ General Relativity ใส่ลงไปใน แนวคิดของ Newton ได้เลยโดยไม่มีใครผิด ใช้งานในระดับ Space ก็ได้ Quantum Scale ก็ได้ และ ดูจาก การ Balance โดยตัวมันเองจะพบว่า ไม่ว่าจะหินก้อนเล็กหรือใหญ่หรือผู้สังเกต ไม่ว่า ระยะเวลาจะบิดเบี้ยวขนาดใหน วัตถุทุกชิ้นที่เราอ้างถึง ก็ยังคงจะ วัดผลความเร็วแสงได้เท่าเดิมเสมอคือประมาณ 300,000 km/s แต่ ระยะทางของใครของมัน ระยะเวลาเดินช้า-เร็วของใครของมันเช่นกัน
ถ้าผมบอกว่า ภาพของจักรวาลนี้ จริง ๆ มีขั้นต่ำสุด แยกออกมาทั้งหมดมี 6 มิติ คือ
1. กว้าง 2. ยาว 3. สูง (จะได้ วัตถุแบบ 3 มิติออกมา)
4. ระยะเวลา 5. ระยะทาง และ 6. ระยะ gravity (จะได้ space-time-gravity ออกมา)
เพราะงั้น กว้าง x ยาว x สูง ไม่ใช่ space แต่เป็นขนาดของ object
ระยะเวลา ระยะทาง และ ระยะ gravity จะเป็นแนวคิดแบบ มิติพิเศษเหมือน ที่เราจินตนาการถึง เวลา
ถ้าผมลองเอา logic นี้ ไปใช้กับ หลุมดำ และ ระดับ Atomic ดูจะได้
1 เพื่อไม่ให้ เกิดค่าหาร 0 พอคิดแล้วติด error การคำนวน ผมให้ หลุมดำโค้งงอสนาม space-time ที่ น้อยกว่า infinity ไป 1 unit ถ้าเราเทียบแนวความคิด ว่ามันคือ หินก้อนที่หนัก เราจะได้ว่า หลุมดำ เวลาเดินช้า เข้าใกล้ 0 จน เวลา 1 planck scale นานเท่ากับ 13.78 พันล้านปีแสง และ 1 หน่วยของระยะทาง planck scale จะยืดยาวออกจนไปสุดที่ค่า 13.78 พันล้านปีแสง เพราะงั้น หลุมดำทุกหลุม ในจักรวาล จริง ๆ มองเห็นระยะ 13.78 พันล้านปีแสงรอบ ๆ ตัวมัน อยู่ใกล้แค่ ระยะ 1 planck scale จึงเป็นเหตุผลว่า ทำไม แรงที่ชื่อ Gravity ถึงส่งได้ไกลมาก ๆ ในอวกาศเพราะจริง ๆ มันไม่ไกล มันใกล้มาก และต่อให้ถ้าหลุมดำ มีอายุ 1 วินาทีก่อนที่มันจะ decay หายไป เวลาของผู้สังเกตด้านนอกจะเท่ากับ เอ่อ ... 13.78 พันล้านปี คือ (4.3x10 ยกกำลัง 17) แล้ว x ด้วย plank unit คือ (10 ยกกำลัง 44 วินาที) หรือก็คือ (4,30 ... ใส่ 0 ไปอีก 50 ตัว วินาที โดย 1 ปี จะประมาณ 31.5 ล้านวินาที) เพราะงั้นอายุ หลุมดำ 1 วินาที สำหรับผู้สังเกตการบนโลกคือราว ๆ 10 x 10 ยกกำลัง 44 ปี ... นานพอแน่นอน สำหรับอายุจักรวาลของจริง ไม่ได้หลอกเด็กที่แค่ 13.78 พันล้านปี
2 ในทางกลับกัน ผมให้ ระดับ Atomic เทียบกับหินก้อนเบา ระดับนี้ โค้งงอสนาม space-time น้อย เวลาเดินเร็วมาก 1 unit ของระยะทางหดสั้นลง จนขนาดของ Atom H ประมาณ 37 x 10 ยกกำลัง ลบ 12 จะบอกว่า เห้ย จริง ๆ ผมอยู่ใน ระยะทางที่มีขนาดค่าความกว้างเท่ากับ 13.78 พันล้านปีแสงนะ .. คุณคงมองเห็นภาพแล้วว่า ทำไมต่อให้มีหลุมดำกำลังสูงมากอยู่ภายใน Atom แรง Gravity ภายในก็จะไม่รั่วออกมา นอกผิวของ Atom เลยแม้แต่น้อย เพราะระยะทางนั้นไกลเกินระยะ 13.78 พันล้านปีแสง ไปแล้ว
ถ้าทั้งหมดนี้ work จริง .. แสดงว่า ทุกวันนี้เราเข้าใจ สลับกันมาตลอด เรื่องระยะทางและระยะเวลานะครับ
จริง ๆ มีอื่น ๆ อีกมากมาย ที่ผม unlock ได้นะ แต่เอาแค่นี้ก็บ้าพอแล้วหล่ะ ... แต่ผมบ้าได้มากกว่านั้น
เดือนหน้า ผมจะโพสว่า ผมมอง photon เป็นแบบใหนนะครับ รับรองว่า ไม่เหมือนใครครับ ตามนั้น