.
พุทธานุสสติ
อิติปิ โส ภะคะวา,
เพราะเหตุอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
อะระหัง,
เป็นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทโธ,
เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
วิชชาจะระณะสัมปันโน,
เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจะระณะ
สุคะโต,
เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี
โลกะวิทู,
เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง
อนุตตะโร ปุริสทัมมะสาระถิ,
เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้ อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า
สัตถา เทวะมนุสสานัง,
เป็นครูสอนเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
พุทโธ,
เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม
ภะคะวาติฯ
เป็นผู้มีความจำเริญ จำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์, ดังนี้ฯ
ธัมมานุสสติ
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรม, เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสไว้ดีแล้ว
สันทิฏฐิโก,
เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง
อะกาลิโก,
เป็นสิ่งที่สามารถปฏิบัติจนถึงผลได้ ไม่จำกัดกาล
เอหิปัสสิโก,
เป็นสิ่งที่ผู้แจ้งเอง ท้าทายให้มาพิสูจน์กันได้
โอปะนะยิโก,
เป็นสิ่งที่ควรให้มีให้เกิดขึ้นในตน
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ
เป็นสิ่งที่วิญญูชนแจ่มแจ้งอยู่ในตน, ดังนี้ฯ
สังฆานุสสติ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติดี
อุชุปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติตรง
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
เป็นผู้ปฏิบัติถึงความรู้ธรรม เป็นเครื่องออกจากทุกข์
สามีจิปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้เข้าถึงสัมมาปฏิบัติ
ยะทิทัง,
ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ,
คู่แห่งบุรุษสี่
อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
นับเป็นบุรุษบุคคลแปด
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
นี้คือ, สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
อาหุเนยโย,
ผู้ควรแก่ของที่เขานำมาถวายบูชา
ปาหุเนยโย,
ผู้ควรต้อนรับ
ทักขิเณยโย,
ผู้ควรแก่ทานเพื่อผลอันเจริญ
อัญชะลีกะระณีโย,
ผู้ควรกระทำอัญชลี
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ
เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า, ดังนี้ฯ
🙏 🙏 🙏 🙏 🙏 🙏 🙏
🌿
•>> สรรเสริญ บูชา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ที่มาในพระไตรปิฎก >>
พุทธานุสสติ
อิติปิ โส ภะคะวา,
เพราะเหตุอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
อะระหัง,
เป็นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทโธ,
เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
วิชชาจะระณะสัมปันโน,
เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจะระณะ
สุคะโต,
เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี
โลกะวิทู,
เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง
อนุตตะโร ปุริสทัมมะสาระถิ,
เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้ อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า
สัตถา เทวะมนุสสานัง,
เป็นครูสอนเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
พุทโธ,
เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม
ภะคะวาติฯ
เป็นผู้มีความจำเริญ จำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์, ดังนี้ฯ
ธัมมานุสสติ
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรม, เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสไว้ดีแล้ว
สันทิฏฐิโก,
เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง
อะกาลิโก,
เป็นสิ่งที่สามารถปฏิบัติจนถึงผลได้ ไม่จำกัดกาล
เอหิปัสสิโก,
เป็นสิ่งที่ผู้แจ้งเอง ท้าทายให้มาพิสูจน์กันได้
โอปะนะยิโก,
เป็นสิ่งที่ควรให้มีให้เกิดขึ้นในตน
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ
เป็นสิ่งที่วิญญูชนแจ่มแจ้งอยู่ในตน, ดังนี้ฯ
สังฆานุสสติ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติดี
อุชุปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติตรง
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
เป็นผู้ปฏิบัติถึงความรู้ธรรม เป็นเครื่องออกจากทุกข์
สามีจิปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้เข้าถึงสัมมาปฏิบัติ
ยะทิทัง,
ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ,
คู่แห่งบุรุษสี่
อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
นับเป็นบุรุษบุคคลแปด
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
นี้คือ, สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
อาหุเนยโย,
ผู้ควรแก่ของที่เขานำมาถวายบูชา
ปาหุเนยโย,
ผู้ควรต้อนรับ
ทักขิเณยโย,
ผู้ควรแก่ทานเพื่อผลอันเจริญ
อัญชะลีกะระณีโย,
ผู้ควรกระทำอัญชลี
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ
เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า, ดังนี้ฯ
🙏 🙏 🙏 🙏 🙏 🙏 🙏
🌿