.
https://m.ppantip.com/topic/42134765?
" ...
... ว่า
จิต คือ ธาตุรู้ คือ
วิญญาณธาตุ
วิญญาณ
ขันธ์ คือ อาการที่จิตออกรับอารมณ์ "
และพระพุทธเจ้า
ไม่ได้ตรัสว่า จิต เป็น อนัตตา ... "
--------
https://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=14&A=2445
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖
มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
๒. ฉวิโสธนสูตร (๑๑๒)
...
...
ดูกรภิกษุทั้งหลาย คำกล่าวของภิกษุรูปนั้น พวกเธอควรชื่นชม
อนุโมทนาว่า สาธุ ครั้นแล้วพึงถามปัญหาให้ยิ่งขึ้นไปว่า
ดูกรท่านผู้มีอายุ ธาตุอัน-
*พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ผู้ทรงรู้ ทรงเห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธ
ตรัสไว้ชอบ นี้มี ๖ ประการ ๖ ประการเป็นไฉน คือ
ปฐวีธาตุ
อาโปธาตุ
เตโชธาตุ
วาโยธาตุ
อากาสธาตุ
วิญญาณธาตุ
ดูกรท่านผู้มีอายุ นี้แล
ธาตุ ๖ ประการ
อันพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ผู้ทรงรู้ ทรงเห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธ
ตรัสไว้ชอบแล้ว ก็จิตของท่านผู้มีอายุ ผู้รู้อยู่ เห็นอยู่อย่างไรเล่า
จึงหลุดพ้น
จากอาสวะ ไม่ยึดมั่นในธาตุ ๖ นี้ ฯ
[๑๗๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้สิ้นอาสวะแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทำกิจที่ควร
ทำเสร็จแล้ว ปลงภาระได้แล้ว บรรลุประโยชน์ตนแล้วโดยลำดับ สิ้นสัญโญชน์ในภพแล้ว
พ้นวิเศษแล้วเพราะรู้ชอบ
จึงนับว่ามีธรรมอันสมควร จะพยากรณ์ได้ดังนี้ว่า
ดูกรท่านผู้มีอายุ
ข้าพเจ้าครองปฐวีธาตุโดยความเป็นอนัตตา
มิใช่ครองอัตตาอาศัยปฐวีธาตุเลย
จึงทราบชัดว่า
จิตของเราหลุดพ้นแล้ว เพราะสิ้น สำรอก ดับ สละ และสลัดคืนซึ่งอุปาทานขันธ์ที่ยึดมั่นอาศัย
ปฐวีธาตุ และอนุสัยคือความตั้งใจและความปักใจมั่นอาศัยปฐวีธาตุได้
ข้าพเจ้าครองอาโปธาตุ
โดยความเป็นอนัตตา ... เพราะสิ้น สำรอก ดับ สละ และสลัดคืนซึ่งอุปาทานขันธ์ที่ยึดมั่นอาศัย
อาโปธาตุ และอนุสัยคือความตั้งใจและความปักใจมั่นอาศัยอาโปธาตุได้
ข้าพเจ้าครองเตโชธาตุ
โดยความเป็นอนัตตา ... เพราะสิ้น สำรอก ดับ สละ และสลัดคืนซึ่งอุปาทานขันธ์ที่ยึดมั่นอาศัย
เตโชธาตุ และอนุสัยคือความตั้งใจและความปักใจมั่นอาศัยเตโชธาตุได้
ข้าพเจ้าครองวาโยธาตุ
โดยความเป็นอนัตตา ... เพราะสิ้น สำรอก ดับ สละ และสลัดคืนซึ่งอุปาทานขันธ์ที่ยึดมั่นอาศัย
วาโยธาตุ และอนุสัยคือความตั้งใจและความปักใจมั่นอาศัยวาโยธาตุได้ ข้าพเจ้าครองอากาสธาตุ
โดยความเป็นอนัตตา ... เพราะสิ้น สำรอก ดับ สละ และสลัดคืนซึ่งอุปาทานขันธ์ที่ยึดมั่นอาศัย
อากาสธาตุและอนุสัยคือความตั้งใจและความปักใจมั่นอาศัยอากาสธาตุได้
ข้าพเจ้าครอง
วิญญาณธาตุโดยความเป็นอนัตตา
มิใช่ครองอัตตาอาศัยวิญญาณธาตุเลย
จึงทราบชัดว่า
จิตของเราหลุดพ้นแล้ว
เพราะสิ้น สำรอก ดับ สละ และสลัดคืนซึ่งอุปาทานขันธ์
ที่ยึดมั่น
อาศัย
วิญญาณธาตุ และอนุสัยคือความตั้งใจและความปักใจมั่นอาศัยวิญญาณธาตุได้
ดูกรท่านผู้มีอายุ จิตของข้าพเจ้าผู้รู้อยู่ เห็นอยู่อย่างนี้แล จึงได้หลุดพ้นจากอาสวะ
ไม่ยึดมั่นในธาตุ ๖ นี้
...
**********
.
//// สมาชิกท่านหนึ่ง บอกว่า (จิต คือ วิญญาณธาตุ) และ พระพุทธเจ้าไม่ได้ตรัสว่า จิต เป็น อนัตตา"
https://m.ppantip.com/topic/42134765?
" ...
... ว่า
จิต คือ ธาตุรู้ คือ วิญญาณธาตุ
วิญญาณขันธ์ คือ อาการที่จิตออกรับอารมณ์ "
และพระพุทธเจ้า
ไม่ได้ตรัสว่า จิต เป็น อนัตตา... "-------- https://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=14&A=2445
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖
มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
๒. ฉวิโสธนสูตร (๑๑๒)
...
...
ดูกรภิกษุทั้งหลาย คำกล่าวของภิกษุรูปนั้น พวกเธอควรชื่นชม
อนุโมทนาว่า สาธุ ครั้นแล้วพึงถามปัญหาให้ยิ่งขึ้นไปว่า
ดูกรท่านผู้มีอายุ ธาตุอัน-
*พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ผู้ทรงรู้ ทรงเห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธ
ตรัสไว้ชอบ นี้มี ๖ ประการ ๖ ประการเป็นไฉน คือ
ปฐวีธาตุ
อาโปธาตุ
เตโชธาตุ
วาโยธาตุ
อากาสธาตุ
วิญญาณธาตุ
ดูกรท่านผู้มีอายุ นี้แลธาตุ ๖ ประการ
อันพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ผู้ทรงรู้ ทรงเห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธ
ตรัสไว้ชอบแล้ว ก็จิตของท่านผู้มีอายุ ผู้รู้อยู่ เห็นอยู่อย่างไรเล่า
จึงหลุดพ้น
จากอาสวะ ไม่ยึดมั่นในธาตุ ๖ นี้ ฯ
[๑๗๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้สิ้นอาสวะแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทำกิจที่ควร
ทำเสร็จแล้ว ปลงภาระได้แล้ว บรรลุประโยชน์ตนแล้วโดยลำดับ สิ้นสัญโญชน์ในภพแล้ว
พ้นวิเศษแล้วเพราะรู้ชอบ
จึงนับว่ามีธรรมอันสมควร จะพยากรณ์ได้ดังนี้ว่า
ดูกรท่านผู้มีอายุ
ข้าพเจ้าครองปฐวีธาตุโดยความเป็นอนัตตา
มิใช่ครองอัตตาอาศัยปฐวีธาตุเลย
จึงทราบชัดว่า
จิตของเราหลุดพ้นแล้ว เพราะสิ้น สำรอก ดับ สละ และสลัดคืนซึ่งอุปาทานขันธ์ที่ยึดมั่นอาศัย
ปฐวีธาตุ และอนุสัยคือความตั้งใจและความปักใจมั่นอาศัยปฐวีธาตุได้
ข้าพเจ้าครองอาโปธาตุ
โดยความเป็นอนัตตา ... เพราะสิ้น สำรอก ดับ สละ และสลัดคืนซึ่งอุปาทานขันธ์ที่ยึดมั่นอาศัย
อาโปธาตุ และอนุสัยคือความตั้งใจและความปักใจมั่นอาศัยอาโปธาตุได้
ข้าพเจ้าครองเตโชธาตุ
โดยความเป็นอนัตตา ... เพราะสิ้น สำรอก ดับ สละ และสลัดคืนซึ่งอุปาทานขันธ์ที่ยึดมั่นอาศัย
เตโชธาตุ และอนุสัยคือความตั้งใจและความปักใจมั่นอาศัยเตโชธาตุได้
ข้าพเจ้าครองวาโยธาตุ
โดยความเป็นอนัตตา ... เพราะสิ้น สำรอก ดับ สละ และสลัดคืนซึ่งอุปาทานขันธ์ที่ยึดมั่นอาศัย
วาโยธาตุ และอนุสัยคือความตั้งใจและความปักใจมั่นอาศัยวาโยธาตุได้ ข้าพเจ้าครองอากาสธาตุ
โดยความเป็นอนัตตา ... เพราะสิ้น สำรอก ดับ สละ และสลัดคืนซึ่งอุปาทานขันธ์ที่ยึดมั่นอาศัย
อากาสธาตุและอนุสัยคือความตั้งใจและความปักใจมั่นอาศัยอากาสธาตุได้
ข้าพเจ้าครอง
วิญญาณธาตุโดยความเป็นอนัตตา
มิใช่ครองอัตตาอาศัยวิญญาณธาตุเลย
จึงทราบชัดว่า
จิตของเราหลุดพ้นแล้ว
เพราะสิ้น สำรอก ดับ สละ และสลัดคืนซึ่งอุปาทานขันธ์ที่ยึดมั่น
อาศัยวิญญาณธาตุ และอนุสัยคือความตั้งใจและความปักใจมั่นอาศัยวิญญาณธาตุได้
ดูกรท่านผู้มีอายุ จิตของข้าพเจ้าผู้รู้อยู่ เห็นอยู่อย่างนี้แล จึงได้หลุดพ้นจากอาสวะ
ไม่ยึดมั่นในธาตุ ๖ นี้
...
**********
.