🌼🌼🌼 ขอนอบน้อมแต่...พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า...พระองค์นั้น 🌼🌼🌼
นิคหะ ที่ ๖ (ข้อติเตียน - ข้อโต้แย้ง ..ที่ 6)
[๑๔] ป. ท่านไม่หยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ หรือ?
ส. ถูกแล้ว
ส้มวาที: ทำไม่จะไม่มี บุคคลนะมีแบบเห็นๆ ประจักษ์โดยทั้วทุกคน
มันแค่..อยู่ที่ว่า " บุคคลนั้นเที่ยง..หรือ...ไม่เที่ยง "
บุคคล..นับว่า " ไม่เที่ยง " ก็ต้องเมื่อยัง...มีอนุสัย...ในอุปาทานขันธ์๕
และ..บุคคล..นับว่า " เที่ยง " ก็ต้องเมื่อ...ละอนุสัยได้แล้ว...ในอุปาทานขันธ์๕
ป. ท่านไม่หยั่งเห็นบุคคลในที่ทั้งปวง โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ หรือ?
ส. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น
ส้มวาที: ....
ป. ท่านจงรับรู้นิคหะ(การติดเตียน), หากว่า ท่านไม่หยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์
ด้วยเหตุนั้นนะท่านจึงต้องกล่าวว่า ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคลในที่ทั้งปวง โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์,
ที่ท่านกล่าวในปัญหานั้นว่า พึงกล่าวได้ว่า ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์
แต่ไม่ พึงกล่าวว่า ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคลในที่ทั้งปวง โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ ดังนี้ ผิด,
แต่ถ้าไม่พึง กล่าวว่า ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคลในที่ทั้งปวง โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์
ก็ต้องไม่กล่าวว่า ข้าพเจ้า ไม่หยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์,
ที่ท่านกล่าวในปัญหานั้นว่า พึงกล่าวได้ว่า ข้าพเจ้าไม่ หยั่งเห็นบุคคล
โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ แต่ไม่พึงกล่าวว่า ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคลในที่ทั้งปวง
โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ ดังนี้ ผิด ฯลฯ
ส้มวาที: ก็..ถ้าหากท่านมองไปที่สุดแห่งธรรมทั้งปวง..
บุคคล...หมายถึง ..." สิ่ง " ที่เคลื่อนไปเคลื่อนมา(จุติ - อุปฺปตฺต) ผู้ที่เวียนว่ายตายเกิด
ในวัฏฏะ... " สิ่งนั้น "...ที่ใช้คำแทนว่า " บุคคล " ...บุคคลก็จะเป็นสิ่งที่เที่ยง
แต่...ก็นับว่าไม่เที่ยง - ไปได้การเกิด - ไปได้การตาย...
ดังที่พระศาสดาท่านทรงกล่าวไว้ว่า
👇
=============================================================
ทุกข์(อุปาทานขันธ์๕)เท่านั้นที่เกิด-ดับ.. นอกนั้น...ไม่ใช่สิ่งที่..เกิด-ดับ..
สิ่งนั้น..ที่มามีอุปาทาน..สิ่งนั้น..ไม่ใช่ของที่เกิดดับ.. แต่ " เคลื่อนไป(คจฺฉติ) "
แต่..ก็นับว่า (สงฺขํ) " เกิด-ดับ..ไปตามขันธ์๕..โดยอุปาทาน "..บาลีว่า " อนุมิยฺยติ(ตายตาม) "
แต่..จริงๆ แล้ว...เขาไม่ได้ตาย.. สิ่งที่ตาย - สิ่งที่เกิดดับ...มันแต่ขันธ์๕..เท่านั้น
นี่คือ..พุทธวจน
👇
👇
รูปญฺเจ ..........ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
เวทนญฺเจ .......ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
สญฺญญฺเจ .......ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
สงฺขาเร ..........ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
วิญฺญาณญฺเจ ....ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
รูปญฺเจ(ถ้าในรูป) ภิกฺขุ(ภิกษุ ท.!) อนุเสติ(อนุสัย)
ตํ(ด้วยเหตุนั้น) อนุมิยฺยติ(ตายตาม )
ยํ(ผู้ใด(นั้น)) อนุมิยฺยติ(ตายตาม) เตน(นั้น) สงฺขํ(นับว่า) คจฺฉติ(เคลื่อนไป) ฯ
ก็เมื่อ..บุคคล..ไปมีตัณหา-อุปาทาน..ในอุปาทานข้นธ์๕...บุคคลก็นับเข้ากับขันธ์๕..อันเป็นของเกิด-ตาย
=======================================================================
กถาวัตถุ..ตอนที่ - 14
นิคหะ ที่ ๖ (ข้อติเตียน - ข้อโต้แย้ง ..ที่ 6)
[๑๔] ป. ท่านไม่หยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ หรือ?
ส. ถูกแล้ว
ส้มวาที: ทำไม่จะไม่มี บุคคลนะมีแบบเห็นๆ ประจักษ์โดยทั้วทุกคน
มันแค่..อยู่ที่ว่า " บุคคลนั้นเที่ยง..หรือ...ไม่เที่ยง "
บุคคล..นับว่า " ไม่เที่ยง " ก็ต้องเมื่อยัง...มีอนุสัย...ในอุปาทานขันธ์๕
และ..บุคคล..นับว่า " เที่ยง " ก็ต้องเมื่อ...ละอนุสัยได้แล้ว...ในอุปาทานขันธ์๕
ป. ท่านไม่หยั่งเห็นบุคคลในที่ทั้งปวง โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ หรือ?
ส. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น
ส้มวาที: ....
ป. ท่านจงรับรู้นิคหะ(การติดเตียน), หากว่า ท่านไม่หยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์
ด้วยเหตุนั้นนะท่านจึงต้องกล่าวว่า ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคลในที่ทั้งปวง โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์,
ที่ท่านกล่าวในปัญหานั้นว่า พึงกล่าวได้ว่า ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์
แต่ไม่ พึงกล่าวว่า ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคลในที่ทั้งปวง โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ ดังนี้ ผิด,
แต่ถ้าไม่พึง กล่าวว่า ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคลในที่ทั้งปวง โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์
ก็ต้องไม่กล่าวว่า ข้าพเจ้า ไม่หยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์,
ที่ท่านกล่าวในปัญหานั้นว่า พึงกล่าวได้ว่า ข้าพเจ้าไม่ หยั่งเห็นบุคคล
โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ แต่ไม่พึงกล่าวว่า ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคลในที่ทั้งปวง
โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ ดังนี้ ผิด ฯลฯ
ส้มวาที: ก็..ถ้าหากท่านมองไปที่สุดแห่งธรรมทั้งปวง..
บุคคล...หมายถึง ..." สิ่ง " ที่เคลื่อนไปเคลื่อนมา(จุติ - อุปฺปตฺต) ผู้ที่เวียนว่ายตายเกิด
ในวัฏฏะ... " สิ่งนั้น "...ที่ใช้คำแทนว่า " บุคคล " ...บุคคลก็จะเป็นสิ่งที่เที่ยง
แต่...ก็นับว่าไม่เที่ยง - ไปได้การเกิด - ไปได้การตาย...
ดังที่พระศาสดาท่านทรงกล่าวไว้ว่า
👇
=============================================================
ทุกข์(อุปาทานขันธ์๕)เท่านั้นที่เกิด-ดับ.. นอกนั้น...ไม่ใช่สิ่งที่..เกิด-ดับ..
สิ่งนั้น..ที่มามีอุปาทาน..สิ่งนั้น..ไม่ใช่ของที่เกิดดับ.. แต่ " เคลื่อนไป(คจฺฉติ) "
แต่..ก็นับว่า (สงฺขํ) " เกิด-ดับ..ไปตามขันธ์๕..โดยอุปาทาน "..บาลีว่า " อนุมิยฺยติ(ตายตาม) "
แต่..จริงๆ แล้ว...เขาไม่ได้ตาย.. สิ่งที่ตาย - สิ่งที่เกิดดับ...มันแต่ขันธ์๕..เท่านั้น
นี่คือ..พุทธวจน
👇
👇
รูปญฺเจ ..........ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
เวทนญฺเจ .......ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
สญฺญญฺเจ .......ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
สงฺขาเร ..........ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
วิญฺญาณญฺเจ ....ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
รูปญฺเจ(ถ้าในรูป) ภิกฺขุ(ภิกษุ ท.!) อนุเสติ(อนุสัย)
ตํ(ด้วยเหตุนั้น) อนุมิยฺยติ(ตายตาม )
ยํ(ผู้ใด(นั้น)) อนุมิยฺยติ(ตายตาม) เตน(นั้น) สงฺขํ(นับว่า) คจฺฉติ(เคลื่อนไป) ฯ
ก็เมื่อ..บุคคล..ไปมีตัณหา-อุปาทาน..ในอุปาทานข้นธ์๕...บุคคลก็นับเข้ากับขันธ์๕..อันเป็นของเกิด-ตาย
=======================================================================