🌼🌼🌼 ขอนอบน้อมแต่...พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า...พระองค์นั้น 🌼🌼🌼
อุปนยนจตุกกะ
[๙] ส. หากนิคหะที่เราทำแก่ท่านนี้ เป็นนิคหะชั่วไซร้
ท่านจงเห็นอย่างเดียวกัน นั่นแหละ ในนิคหะที่ท่านได้ทำแก่เรา
ในกรณีว่า พึงกล่าวได้ว่า...
" ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์
แต่ไม่พึงกล่าวว่า สภาวะใด เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ "
ข้าพเจ้าไม่ หยั่งเห็นบุคคลนั้น ตามสภาวะนั้น โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์,
ก็เราผู้ปฏิญาณอยู่ข้างปฏิเสธบุคคล อย่างนี้ ด้วยปฏิญญานี้ อันท่านไม่พึงนิคหะอย่างนี้
ดังนั้นท่านนิคหะเรา เราจึงถูกนิคหะชั่วเทียว
คือนิคหะว่า หากว่า ท่านไม่หยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์
ด้วยเหตุนั้นนะท่านจึงต้อง กล่าวว่า
" สภาวะใด เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคลนั้น
ตามสภาวะ นั้น โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์, "
ที่ท่านกล่าวในปัญหานั้นว่า พึงกล่าวได้ว่า
" ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคลโดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์
แต่ไม่พึงกล่าวว่า สภาวะใด เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ
ข้าพเจ้า ไม่หยั่งเห็นบุคคลนั้น ตามสภาวะนั้น โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ " ... ดังนี้ ผิด,
แต่ถ้าไม่พึงกล่าวว่า
"สภาวะใด เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ
ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคลนั้น ตามสภาวะนั้น โดย สัจฉิกัตถปรมัตถ์
ก็ต้องไม่กล่าวว่า ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์, "
ที่ท่าน กล่าวในปัญหานั้นว่า
" พึงกล่าวได้ว่า ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์
แต่ไม่ พึงกล่าวว่า สภาวะใด เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ
ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคลนั้น ตามสภาวะ นั้น โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ "
ดังนี้ นี้เป็นความผิดของท่าน
ส้มวาที: เหมือนกับ...ตอนที่ผ่านๆมา....เรื่อง " สัดตว์ - บุคคล - เรา - เขา " ..มันเป็นอย่างนี้.ครับ
👇👇👇👇👇
บุคคล..มันแล้วแต่ว่า ปรวาที่...และ..สกวาที่... หมายไปที่ใด...
หากหมายเอาแบบโลกๆ ที่เขากล่าวกัน... เขาหมายเอาที่..รูป..และ..อรูป
ว่าเป็นสัตว์ - เป็นบุคคล...
☝..อย่างนี้แบบนี้...บุคคลก็จะไม่มีโดย.." อตฺติ - สจฺจ " .
แต่บุคคล..จะมีแบบ " สติ - โหติ - ภวิสฺสติ " ...
คือจะมีแบบ..เกิดขึ้นตามปฏิจจสมุปปาท...
โดยเพราะตัณหา..จึงมีการหยั่งลงสู่ครรภ์...แล้ว..มีนามรูป
พอมีนามรูป...ก็เกิดภพ..ชาติ.. อยม่างนี้นะ..บุคคลปรากฏขึ้นมา
หากหมายเอาแบบอริยะ...
☝..อย่างนี้แบบนี้ บุคคลไม่ใช่ขันธ์๕
ขันธ์๕..ไม่ใช่เรา เราก็ไม่ใช่ขันธ์๕ รูป..และ...อรูป..มันไม่ใช่เรา
เรา...คือ..ผู้ที่มามีอุปาทาน...ใน...อุปาทานขันธ์๕
ตอนที่...เรายังมี..ตัณหา-อุปาทาน..เราก็จะมีสภาวะ " เคลื่อน(จุติ)...ไปตาม..ขันธ์๕ "
หากว่าเรา..คายกำหนัดจากอุปาทานขันธ์๕..ได้แล้ว สิ้นแล้วซึ่ง..ตัณหา-อุปาทาน
เมื่อนั้น...เราจะเป็นอมตะ - เที่ยง - ยั่งยื่น - ไม่ไปนับว่าเป็นของเกิดตาย..อีกต่อไป..
สังสารวัฏก็จะหยุดลง..
=============================================================
ทุกข์(อุปาทานขันธ์๕)เท่านั้นที่เกิด-ดับ.. นอกนั้น...ไม่ใช่สิ่งที่..เกิด-ดับ..
สิ่งนั้น..ที่มามีอุปาทาน..สิ่งนั้น..ไม่ใช่ของที่เกิดดับ.. แต่ " เคลื่อนไป(คจฺฉติ) "
แต่..ก็นับว่า (สงฺขํ) " เกิด-ดับ..ไปตามขันธ์๕..โดยอุปาทาน "..บาลีว่า " อนุมิยฺยติ(ตายตาม) "
แต่..จริงๆ แล้ว...เขาไม่ได้ตาย.. สิ่งที่ตาย - สิ่งที่เกิดดับ...มันแต่ขันธ์๕..เท่านั้น
นี่คือ..พุทธวจน
👇
👇
รูปญฺเจ ..........ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
เวทนญฺเจ .......ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
สญฺญญฺเจ .......ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
สงฺขาเร ..........ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
วิญฺญาณญฺเจ ....ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
รูปญฺเจ(ถ้าในรูป) ภิกฺขุ(ภิกษุ ท.!) อนุเสติ(อนุสัย)
ตํ(ด้วยเหตุนั้น) อนุมิยฺยติ(ตายตาม )
ยํ(ผู้ใด(นั้น)) อนุมิยฺยติ(ตายตาม) เตน(นั้น) สงฺขํ(นับว่า) คจฺฉติ(เคลื่อนไป) ฯ
ก็เมื่อ..บุคคล..ไปมีตัณหา-อุปาทาน..ในอุปาทานข้นธ์๕...บุคคลก็นับเข้ากับขันธ์๕..อันเป็นของเกิด-ตาย
=======================================================================
อุปนยนจตุกกะ จบ
กถาวัตถุ..ตอนที่ - 7
อุปนยนจตุกกะ
[๙] ส. หากนิคหะที่เราทำแก่ท่านนี้ เป็นนิคหะชั่วไซร้
ท่านจงเห็นอย่างเดียวกัน นั่นแหละ ในนิคหะที่ท่านได้ทำแก่เรา
ในกรณีว่า พึงกล่าวได้ว่า...
" ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์
แต่ไม่พึงกล่าวว่า สภาวะใด เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ "
ข้าพเจ้าไม่ หยั่งเห็นบุคคลนั้น ตามสภาวะนั้น โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์,
ก็เราผู้ปฏิญาณอยู่ข้างปฏิเสธบุคคล อย่างนี้ ด้วยปฏิญญานี้ อันท่านไม่พึงนิคหะอย่างนี้
ดังนั้นท่านนิคหะเรา เราจึงถูกนิคหะชั่วเทียว
คือนิคหะว่า หากว่า ท่านไม่หยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์
ด้วยเหตุนั้นนะท่านจึงต้อง กล่าวว่า
" สภาวะใด เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคลนั้น
ตามสภาวะ นั้น โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์, "
ที่ท่านกล่าวในปัญหานั้นว่า พึงกล่าวได้ว่า
" ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคลโดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์
แต่ไม่พึงกล่าวว่า สภาวะใด เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ
ข้าพเจ้า ไม่หยั่งเห็นบุคคลนั้น ตามสภาวะนั้น โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ " ... ดังนี้ ผิด,
แต่ถ้าไม่พึงกล่าวว่า
"สภาวะใด เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ
ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคลนั้น ตามสภาวะนั้น โดย สัจฉิกัตถปรมัตถ์
ก็ต้องไม่กล่าวว่า ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์, "
ที่ท่าน กล่าวในปัญหานั้นว่า
" พึงกล่าวได้ว่า ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์
แต่ไม่ พึงกล่าวว่า สภาวะใด เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ
ข้าพเจ้าไม่หยั่งเห็นบุคคลนั้น ตามสภาวะ นั้น โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ "
ดังนี้ นี้เป็นความผิดของท่าน
ส้มวาที: เหมือนกับ...ตอนที่ผ่านๆมา....เรื่อง " สัดตว์ - บุคคล - เรา - เขา " ..มันเป็นอย่างนี้.ครับ
👇👇👇👇👇
บุคคล..มันแล้วแต่ว่า ปรวาที่...และ..สกวาที่... หมายไปที่ใด...
หากหมายเอาแบบโลกๆ ที่เขากล่าวกัน... เขาหมายเอาที่..รูป..และ..อรูป
ว่าเป็นสัตว์ - เป็นบุคคล...
☝..อย่างนี้แบบนี้...บุคคลก็จะไม่มีโดย.." อตฺติ - สจฺจ " .
แต่บุคคล..จะมีแบบ " สติ - โหติ - ภวิสฺสติ " ...
คือจะมีแบบ..เกิดขึ้นตามปฏิจจสมุปปาท...
โดยเพราะตัณหา..จึงมีการหยั่งลงสู่ครรภ์...แล้ว..มีนามรูป
พอมีนามรูป...ก็เกิดภพ..ชาติ.. อยม่างนี้นะ..บุคคลปรากฏขึ้นมา
หากหมายเอาแบบอริยะ...
☝..อย่างนี้แบบนี้ บุคคลไม่ใช่ขันธ์๕
ขันธ์๕..ไม่ใช่เรา เราก็ไม่ใช่ขันธ์๕ รูป..และ...อรูป..มันไม่ใช่เรา
เรา...คือ..ผู้ที่มามีอุปาทาน...ใน...อุปาทานขันธ์๕
ตอนที่...เรายังมี..ตัณหา-อุปาทาน..เราก็จะมีสภาวะ " เคลื่อน(จุติ)...ไปตาม..ขันธ์๕ "
หากว่าเรา..คายกำหนัดจากอุปาทานขันธ์๕..ได้แล้ว สิ้นแล้วซึ่ง..ตัณหา-อุปาทาน
เมื่อนั้น...เราจะเป็นอมตะ - เที่ยง - ยั่งยื่น - ไม่ไปนับว่าเป็นของเกิดตาย..อีกต่อไป..
สังสารวัฏก็จะหยุดลง..
=============================================================
ทุกข์(อุปาทานขันธ์๕)เท่านั้นที่เกิด-ดับ.. นอกนั้น...ไม่ใช่สิ่งที่..เกิด-ดับ..
สิ่งนั้น..ที่มามีอุปาทาน..สิ่งนั้น..ไม่ใช่ของที่เกิดดับ.. แต่ " เคลื่อนไป(คจฺฉติ) "
แต่..ก็นับว่า (สงฺขํ) " เกิด-ดับ..ไปตามขันธ์๕..โดยอุปาทาน "..บาลีว่า " อนุมิยฺยติ(ตายตาม) "
แต่..จริงๆ แล้ว...เขาไม่ได้ตาย.. สิ่งที่ตาย - สิ่งที่เกิดดับ...มันแต่ขันธ์๕..เท่านั้น
นี่คือ..พุทธวจน
👇
👇
รูปญฺเจ ..........ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
เวทนญฺเจ .......ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
สญฺญญฺเจ .......ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
สงฺขาเร ..........ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
วิญฺญาณญฺเจ ....ภิกฺขุ อนุเสติ ตํ อนุมิยฺยติ ยํ อนุมิยฺยติ เตน สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
รูปญฺเจ(ถ้าในรูป) ภิกฺขุ(ภิกษุ ท.!) อนุเสติ(อนุสัย)
ตํ(ด้วยเหตุนั้น) อนุมิยฺยติ(ตายตาม )
ยํ(ผู้ใด(นั้น)) อนุมิยฺยติ(ตายตาม) เตน(นั้น) สงฺขํ(นับว่า) คจฺฉติ(เคลื่อนไป) ฯ
ก็เมื่อ..บุคคล..ไปมีตัณหา-อุปาทาน..ในอุปาทานข้นธ์๕...บุคคลก็นับเข้ากับขันธ์๕..อันเป็นของเกิด-ตาย
=======================================================================
อุปนยนจตุกกะ จบ