๑๑. สยกตสูตร [๓๖๖]
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฐานะที่ไม่ควรเป็นได้ ๖ ประการนี้ ๖ ประการเป็น ไฉน ?
คือ บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฐิ ย่อม...
- เป็นผู้ไม่ควรเพื่อเชื่อถือ...สุขทุกข์...
ที่ตนเองกระทำแล้ว ๑ <-----A
{อภพฺโพ ทิฏฺฐิสมฺปนฺโน ปุคฺคโล สยํกตํ(ตนเองกระทำ) สุขทุกฺขํ ปจฺจาคนฺตํ}
- เป็นผู้ไม่ควรเพื่อเชื่อถือ...สุขทุกข์...
ที่ผู้อื่นกระทำแล้ว ๑ <-----B
{อภพฺโพ ทิฏฺฐิสมฺปนฺโน ปุคฺคโล ปรกตํ(ผู้อื่นกระทำ) สุขทุกฺขํ ปจฺจาคนฺตํ}
- เป็นผู้ไม่ควรเพื่อเชื่อถือ...สุขทุกข์...
ที่ตนเองกระทำแล้ว..และ...ที่ผู้อื่นกระทำแล้ว ๑ <-----C
{อภพฺโพ ทิฏฺฐิสมฺปนฺโน ปุคฺคโล สยํกตญฺจ ปรกตญฺจ สุขทุกฺขํ ปจฺจาคนฺตํ}
- เป็นผู้ไม่ควรเพื่อเชื่อถือ...สุขทุกข์...
ที่เกิดขึ้นเองที่ตนเองไม่กระทำไว้ ๑ <-----D
{อภพฺโพ ทิฏฺฐิสมฺปนฺโน ปุคฺคโล อสยํการํ อธิจฺจสมุปฺปนฺนํ สุขทุกฺขํ ปจฺจาคนฺตํ}
- เป็นผู้ไม่ควรเพื่อเชื่อถือ...สุขทุกข์...
ที่เกิดขึ้นเองที่ผู้อื่นไม่กระทำไว้ ๑ <-----E
{อภพฺโพ ทิฏฺฐิสมฺปนฺโน ปุคฺคโล อปรการํ ๒ อธิจฺจสมุปฺปนฺนํ สุขทุกฺขํ ปจฺจาคนฺตํ}
- เป็นผู้ไม่ควรเพื่อเชื่อถือ...สุขทุกข์...
ที่เกิดขึ้นเองที่ตนเองไม่กระทำไว้...และ...ที่ผู้อื่นไม่กระทำไว้ ๑ <-----F
{อภพฺโพ ทิฏฺฐิสมฺปนฺโน ปุคฺคโล อสยํการญฺจ อปรการญฺจ อธิจฺจสมุปฺปนฺนํ สุขทุกฺขํ ปจฺจาคนฺตํ}
ข้อนั้นเพราะเหตุ ไร ?
เพราะเหตุว่า เหตุและธรรมทั้งหลายที่เกิดขึ้นจากเหตุ อันบุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฐินั้น เห็นแล้วด้วยดี
{...หมายถึงธรรมทั้งหลายมีเหตุเกิด...เกิดแต่เหตุ..แล้วโสดาบันท่านรู้เหตุนั้น...}
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฐานะที่ไม่ควรเป็นได้ ๖ ประการนี้แล ฯ
จบสูตรที่ ๑๑
https://etipitaka.com/read/thai/22/393/
สรุป...
1. จากตอนก่อนๆ โสดาบันท่านรู้ปฏิจจสมุปปาท...
ท่านรู้ว่า..ทุกข์คืออะไร?...ทุกข์เกิดจากอะไร?...อย่างไรทุกข์ถึงจะดับ...
และจะมีขั้นตอนปฏิบัติอย่างไร?ที่จะทำให้ทุกข์ดับไป
เมื่อรอบรู้ในทุกข์...ท่านจึงทราบว่า...สุขทุกข์นะไม่เกิดมาจาก A, B, C, D, E และ F...
แต่สุขทุกข์มันเกิดมาจาก " ผัสสะ "---ต่างหาก
และ
ทุกข์มันมีต้นเหตุมาจาก " อวิชขา ---นั่นเอง "
2. เรามาลงรายละเอียด...ในฐานะของมิจฉาทิฏฐิ 6 ประการนี้ ดังนี้ (...เป็นส่วนหนึ่งที่กล่าวไว้ในทิฏฐิ62...)
เป็นผู้ไม่ควรเพื่อเชื่อถือ...สุขทุกข์...ว่า
A.ที่ตนเองกระทำแล้ว ๑ <----พวกนี้จะออกไปทางสัสตทิฏฐิ..เพราะคิดว่าขันธ์๕..เวทนาป็นตน..ตนเป็นผู้ทำให้สุขทุกข์เกิดขึ้น..
คล้ายกับพวกยึดถือตน..เชืาอในหลักเหตุผลของตน Atheist
B.ที่ผู้อื่นกระทำแล้ว ๑ <-------อาการอย่างนี้ก็คลายๆกับพระเจ้าบันดาล..หรือสิ่งศักสิทธ์ประทานบันดาล...ลูกทุกข์ให้ลูกช้างด้วยเถิด..คุ้นๆไหม?
การรดน้ำมนต์---การไปบนบานศาลกล่าว---การเชื่อถึงของขลังต่างๆ---ฮวงจุ้ย---การดูดวงดูหมอดู--9ล9
C.ตนเองกระทำแล้ว..และ...ที่ผู้อื่นกระทำแล้ว ๑ <----อันนี้ลูกผสมของ A และ B
D.ที่เกิดขึ้นเองที่ตนเองไม่กระทำไว้ ๑ <-----อันนีน่าจะอุจเฉทิฏฐิ...คืออะไรๆก็ไม่มี...ไม่มีอะไรๆ
E.ที่เกิดขึ้นเองที่ผู้อื่นไม่กระทำไว้ ๑ <---อันนี้ไม่รู้
F.ที่เกิดขึ้นเองที่ตนเองไม่กระทำไว้...และ...ที่ผู้อื่นไม่กระทำไว้ ๑ <---อันนี้ไม่รู้
3. พระศาสดาท่านกล่าวไว้กับท่านพระอานนท์---กล่าวกับปริพาชก...และเหล่าวสาวกอื่นๆก็ทราบ...
ดัวคำกล่าวของพระศาสดา..ดังนี้..
...
...
ถูกแล้ว ถูกแล้ว อานนท์ ! ตามที่สารีบุตรเมื่อตอบปัญหาในลักษณะนั้นเช่นนั้นชื่อว่าได้ตอบโดยชอบ.
ดูก่อนอานนท์ ! สุขและทุกข์นั้น เรากล่าวว่าเป็นเพียงสิ่งที่อาศัยปัจจัยอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วเกิดขึ้น
(เรียกว่าปฏิจจสมุปปันนธรรม).
สุขและทุกข์นั้นอาศัยปัจจัยอะไรเล่า ?
สุขและทุกข์นั้น อาศัยปัจจัยคือ ผัสสะ, ผู้กล่าวอย่างนี้แล ชื่อว่า กล่าวตรงตามที่เรากล่าว
ไม่เป็นการกล่าวตู่เราด้วยคำไม่จริง; แต่เป็นการกล่าวโดยถูกต้อง และสหธรรมมิกบางคนที่กล่าวตาม
ก็จะไม่พลอยกลายเป็นผู้ควรถูกติไปด้วย.
ดูก่อนอานนท์ ! ในบรรดาสมณพราหมณ์ ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมทั้งสี่พวกนั้น:
- สมณพราหณ์ ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมพวกใด ย่อมบัญญัติสุขและทุกข์ ว่าเป็นสิ่งที่ตนทำเอาด้วยตนเอง;
แม้สุขและทุกข์ที่พวกเขาบัญญัตินั้น ก็ยังต้องอาศัยผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีได้;
- สมณพราหณ์ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมพวกใด ย่อมบัญญัติสุขและทุกข์ ว่าเป็นสิ่งที่ผู้อื่นทำให้,
แม้สุขและทุกข์ที่พวกเขาบัญญัตินั้น ก็ยังต้องอาศัยผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีได้;
- สมณพราหมณ์ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมพวกใดย่อมบัญญัติสุขและทุกข์ ว่าเป็นสิ่งที่ตนทำเอาด้วยตนเองด้วย ผู้อื่นทำให้ด้วย,
แม้สุขและทุกข์ที่พวกเขาบัญญัตินั้น ก็ยังต้องอาศัยผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีได้;
- ถึงแม้สมณพราหมณ์ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมพวกใด ย่อมบัญญัติสุขและทุกข์ ว่าไม่ใช่ทำเองหรือใครทำให้ก็เกิดขึ้นได้ ก็ตาม,
แม้สุขและทุกข์ที่พวกเขาบัญญัตินั้น ก็ยังต้องอาศั ผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีได้ อยู่นั่นเอง.
ดูก่อนอานนท์ ! ในบรรดาสมณพราหมณ์ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมทั้งสี่พวกนั้น :
สมณพราหมณ์ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมพวกใด ย่อมบัญญัติสุขและทุกข์ ว่าเป็นสิ่งที่ตนทำเอาด้วยตนเอง;
สมณพราหมณ์พวกนั้นหนา
เว้นผัสสะเสียแล้ว จะรู้สึกต่อสุขและทุกข์นั้นได้ ดังนั้นหรือ:
นั่นไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้;
ถึงแม้สมณพราหมณ์ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมพวกใด ย่อมบัญญัติสุขและทุกข์ ว่าเป็นสิ่งที่ผู้อื่นทำให้ก็ตาม;
สมณพราหมณ์ พวกนั้นหนา
เว้นผัสสะเสียแล้ว จะรู้สึกต่อสุขและทุกข์นั้นได้ ดังนั้นหรือ:
นั่นไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้;
ถึงแม้สมณพราหมณ์ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมพวกใด ย่อมบัญญัติสุขและทุกข์ ว่าเป็นสิ่งที่ตนทำเอาด้วยตนเองด้วย ผู้อื่นทำให้ด้วยก็ตาม,
สมณพราหมณ์พวกนั้นหนา
เว้นผัสสะเสียแล้ว จะรู้สึกต่อสุขและทุกข์นั้นได้ ดังนั้นหรือ:
นั่นไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้;
ถึงแม้สมณพราหมณ์ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมพวกใด ย่อมบัญญัติสุขและทุกข์ ว่าไม่ใช่ทำเองหรือใครทำให้ก็เกิดขึ้นได้ ก็ตาม,
สมณพราหมณ์พวกนั้นหนา
เว้นผัสสะเสียแล้ว จะรู้สึกต่อสุขและทุกข์นั้นได้ ดังนั้นหรือ:
นั่นไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้;
...
...
นิทาน. สํ. ๑๖/๔๖/๘๒
สัตว์:..ผู้อริยสาวก-ผู้โสดาบัน..ตอนที่ 16 :โสดาบันจะมีความเห็นเรื่องสุขและทุกข์ไม่เหมือนปุถุชน...ท่านเห็นอย่างนี้..
๑๑. สยกตสูตร [๓๖๖]
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฐานะที่ไม่ควรเป็นได้ ๖ ประการนี้ ๖ ประการเป็น ไฉน ?
คือ บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฐิ ย่อม...
- เป็นผู้ไม่ควรเพื่อเชื่อถือ...สุขทุกข์...ที่ตนเองกระทำแล้ว ๑ <-----A
{อภพฺโพ ทิฏฺฐิสมฺปนฺโน ปุคฺคโล สยํกตํ(ตนเองกระทำ) สุขทุกฺขํ ปจฺจาคนฺตํ}
- เป็นผู้ไม่ควรเพื่อเชื่อถือ...สุขทุกข์...ที่ผู้อื่นกระทำแล้ว ๑ <-----B
{อภพฺโพ ทิฏฺฐิสมฺปนฺโน ปุคฺคโล ปรกตํ(ผู้อื่นกระทำ) สุขทุกฺขํ ปจฺจาคนฺตํ}
- เป็นผู้ไม่ควรเพื่อเชื่อถือ...สุขทุกข์...ที่ตนเองกระทำแล้ว..และ...ที่ผู้อื่นกระทำแล้ว ๑ <-----C
{อภพฺโพ ทิฏฺฐิสมฺปนฺโน ปุคฺคโล สยํกตญฺจ ปรกตญฺจ สุขทุกฺขํ ปจฺจาคนฺตํ}
- เป็นผู้ไม่ควรเพื่อเชื่อถือ...สุขทุกข์...ที่เกิดขึ้นเองที่ตนเองไม่กระทำไว้ ๑ <-----D
{อภพฺโพ ทิฏฺฐิสมฺปนฺโน ปุคฺคโล อสยํการํ อธิจฺจสมุปฺปนฺนํ สุขทุกฺขํ ปจฺจาคนฺตํ}
- เป็นผู้ไม่ควรเพื่อเชื่อถือ...สุขทุกข์...ที่เกิดขึ้นเองที่ผู้อื่นไม่กระทำไว้ ๑ <-----E
{อภพฺโพ ทิฏฺฐิสมฺปนฺโน ปุคฺคโล อปรการํ ๒ อธิจฺจสมุปฺปนฺนํ สุขทุกฺขํ ปจฺจาคนฺตํ}
- เป็นผู้ไม่ควรเพื่อเชื่อถือ...สุขทุกข์...ที่เกิดขึ้นเองที่ตนเองไม่กระทำไว้...และ...ที่ผู้อื่นไม่กระทำไว้ ๑ <-----F
{อภพฺโพ ทิฏฺฐิสมฺปนฺโน ปุคฺคโล อสยํการญฺจ อปรการญฺจ อธิจฺจสมุปฺปนฺนํ สุขทุกฺขํ ปจฺจาคนฺตํ}
ข้อนั้นเพราะเหตุ ไร ?
เพราะเหตุว่า เหตุและธรรมทั้งหลายที่เกิดขึ้นจากเหตุ อันบุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฐินั้น เห็นแล้วด้วยดี
{...หมายถึงธรรมทั้งหลายมีเหตุเกิด...เกิดแต่เหตุ..แล้วโสดาบันท่านรู้เหตุนั้น...}
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฐานะที่ไม่ควรเป็นได้ ๖ ประการนี้แล ฯ
จบสูตรที่ ๑๑
https://etipitaka.com/read/thai/22/393/
สรุป...
1. จากตอนก่อนๆ โสดาบันท่านรู้ปฏิจจสมุปปาท...
ท่านรู้ว่า..ทุกข์คืออะไร?...ทุกข์เกิดจากอะไร?...อย่างไรทุกข์ถึงจะดับ...
และจะมีขั้นตอนปฏิบัติอย่างไร?ที่จะทำให้ทุกข์ดับไป
เมื่อรอบรู้ในทุกข์...ท่านจึงทราบว่า...สุขทุกข์นะไม่เกิดมาจาก A, B, C, D, E และ F...
แต่สุขทุกข์มันเกิดมาจาก " ผัสสะ "---ต่างหาก
และทุกข์มันมีต้นเหตุมาจาก " อวิชขา ---นั่นเอง "
2. เรามาลงรายละเอียด...ในฐานะของมิจฉาทิฏฐิ 6 ประการนี้ ดังนี้ (...เป็นส่วนหนึ่งที่กล่าวไว้ในทิฏฐิ62...)
เป็นผู้ไม่ควรเพื่อเชื่อถือ...สุขทุกข์...ว่า
A.ที่ตนเองกระทำแล้ว ๑ <----พวกนี้จะออกไปทางสัสตทิฏฐิ..เพราะคิดว่าขันธ์๕..เวทนาป็นตน..ตนเป็นผู้ทำให้สุขทุกข์เกิดขึ้น..
คล้ายกับพวกยึดถือตน..เชืาอในหลักเหตุผลของตน Atheist
B.ที่ผู้อื่นกระทำแล้ว ๑ <-------อาการอย่างนี้ก็คลายๆกับพระเจ้าบันดาล..หรือสิ่งศักสิทธ์ประทานบันดาล...ลูกทุกข์ให้ลูกช้างด้วยเถิด..คุ้นๆไหม?
การรดน้ำมนต์---การไปบนบานศาลกล่าว---การเชื่อถึงของขลังต่างๆ---ฮวงจุ้ย---การดูดวงดูหมอดู--9ล9
C.ตนเองกระทำแล้ว..และ...ที่ผู้อื่นกระทำแล้ว ๑ <----อันนี้ลูกผสมของ A และ B
D.ที่เกิดขึ้นเองที่ตนเองไม่กระทำไว้ ๑ <-----อันนีน่าจะอุจเฉทิฏฐิ...คืออะไรๆก็ไม่มี...ไม่มีอะไรๆ
E.ที่เกิดขึ้นเองที่ผู้อื่นไม่กระทำไว้ ๑ <---อันนี้ไม่รู้
F.ที่เกิดขึ้นเองที่ตนเองไม่กระทำไว้...และ...ที่ผู้อื่นไม่กระทำไว้ ๑ <---อันนี้ไม่รู้
3. พระศาสดาท่านกล่าวไว้กับท่านพระอานนท์---กล่าวกับปริพาชก...และเหล่าวสาวกอื่นๆก็ทราบ...
ดัวคำกล่าวของพระศาสดา..ดังนี้..
...
...
ถูกแล้ว ถูกแล้ว อานนท์ ! ตามที่สารีบุตรเมื่อตอบปัญหาในลักษณะนั้นเช่นนั้นชื่อว่าได้ตอบโดยชอบ.
ดูก่อนอานนท์ ! สุขและทุกข์นั้น เรากล่าวว่าเป็นเพียงสิ่งที่อาศัยปัจจัยอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วเกิดขึ้น
(เรียกว่าปฏิจจสมุปปันนธรรม).
สุขและทุกข์นั้นอาศัยปัจจัยอะไรเล่า ?
สุขและทุกข์นั้น อาศัยปัจจัยคือ ผัสสะ, ผู้กล่าวอย่างนี้แล ชื่อว่า กล่าวตรงตามที่เรากล่าว
ไม่เป็นการกล่าวตู่เราด้วยคำไม่จริง; แต่เป็นการกล่าวโดยถูกต้อง และสหธรรมมิกบางคนที่กล่าวตาม
ก็จะไม่พลอยกลายเป็นผู้ควรถูกติไปด้วย.
ดูก่อนอานนท์ ! ในบรรดาสมณพราหมณ์ ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมทั้งสี่พวกนั้น:
- สมณพราหณ์ ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมพวกใด ย่อมบัญญัติสุขและทุกข์ ว่าเป็นสิ่งที่ตนทำเอาด้วยตนเอง;
แม้สุขและทุกข์ที่พวกเขาบัญญัตินั้น ก็ยังต้องอาศัยผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีได้;
- สมณพราหณ์ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมพวกใด ย่อมบัญญัติสุขและทุกข์ ว่าเป็นสิ่งที่ผู้อื่นทำให้,
แม้สุขและทุกข์ที่พวกเขาบัญญัตินั้น ก็ยังต้องอาศัยผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีได้;
- สมณพราหมณ์ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมพวกใดย่อมบัญญัติสุขและทุกข์ ว่าเป็นสิ่งที่ตนทำเอาด้วยตนเองด้วย ผู้อื่นทำให้ด้วย,
แม้สุขและทุกข์ที่พวกเขาบัญญัตินั้น ก็ยังต้องอาศัยผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีได้;
- ถึงแม้สมณพราหมณ์ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมพวกใด ย่อมบัญญัติสุขและทุกข์ ว่าไม่ใช่ทำเองหรือใครทำให้ก็เกิดขึ้นได้ ก็ตาม,
แม้สุขและทุกข์ที่พวกเขาบัญญัตินั้น ก็ยังต้องอาศั ผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีได้ อยู่นั่นเอง.
ดูก่อนอานนท์ ! ในบรรดาสมณพราหมณ์ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมทั้งสี่พวกนั้น :
สมณพราหมณ์ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมพวกใด ย่อมบัญญัติสุขและทุกข์ ว่าเป็นสิ่งที่ตนทำเอาด้วยตนเอง;
สมณพราหมณ์พวกนั้นหนา เว้นผัสสะเสียแล้ว จะรู้สึกต่อสุขและทุกข์นั้นได้ ดังนั้นหรือ:
นั่นไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้;
ถึงแม้สมณพราหมณ์ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมพวกใด ย่อมบัญญัติสุขและทุกข์ ว่าเป็นสิ่งที่ผู้อื่นทำให้ก็ตาม;
สมณพราหมณ์ พวกนั้นหนา เว้นผัสสะเสียแล้ว จะรู้สึกต่อสุขและทุกข์นั้นได้ ดังนั้นหรือ:
นั่นไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้;
ถึงแม้สมณพราหมณ์ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมพวกใด ย่อมบัญญัติสุขและทุกข์ ว่าเป็นสิ่งที่ตนทำเอาด้วยตนเองด้วย ผู้อื่นทำให้ด้วยก็ตาม,
สมณพราหมณ์พวกนั้นหนา เว้นผัสสะเสียแล้ว จะรู้สึกต่อสุขและทุกข์นั้นได้ ดังนั้นหรือ:
นั่นไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้;
ถึงแม้สมณพราหมณ์ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมพวกใด ย่อมบัญญัติสุขและทุกข์ ว่าไม่ใช่ทำเองหรือใครทำให้ก็เกิดขึ้นได้ ก็ตาม,
สมณพราหมณ์พวกนั้นหนาเว้นผัสสะเสียแล้ว จะรู้สึกต่อสุขและทุกข์นั้นได้ ดังนั้นหรือ:
นั่นไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้;
...
...
นิทาน. สํ. ๑๖/๔๖/๘๒