หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
ไม่รวบถือ ไม่แยกถือ อย่างไร ไม่ให้เกิดความยินดียินร้าย?
กระทู้คำถาม
ศาสนาพุทธ
ไม่รวบถือ ไม่แยกถือ หมายความว่าอย่างไร
‘มาเถิด ภิกษุ เธอจงเป็นผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย’ คือ เธอเห็นรูปทางตาแล้ว อย่ารวบถือ อย่าแยกถือ จงปฏิบัติเพื่อสำรวม จักขุนทรีย์(อินทรีย์คือจักขุ) ซึ่งเมื่อไม่สำรวมแล้วจะเป็นเหตุให้ถูกบาปอกุศลธรรม คืออภิชฌา(ความเพ่งเล็งอยากได้สิ่งของของเขา) และโทมนัส(ความทุกข์ใจ) ครอบงำได้ เธอจงรักษาจักขุนทรีย์ จงถึงความสำรวมในจักขุนทรีย์
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
จงปฏิบัติเพื่อสำรวมมนินทรีย์
สุขุมสูตร ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรื่องเคยมีมาแล้ว มีเต่าตัวหนึ่ง เที่ยวหากินอยู่ที่ริมฝั่งแม่น้ำน้อยแห่งหนึ่งในเวลาเย็น สุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งก็ได้เที่ยวหากินอยู่ที่ริมฝั่งแม่น้ำน้อยแห่งหนึ่งในเวลาเย็น เต
สมาชิกหมายเลข 1015575
-- ความเห็นต่อการเบื่อหน่ายร่างกายเกี่ยวข้องกับการสำรวมอินทรีย์ ได้
ถ้า ปล่อยวาง/เบื่อหน่าย ในร่างกายได้แล้ว จะมีการสำรวมอินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ตามมา เพราะว่าอายตนะทั้ง6 เหล่านี้ล้วนตั้งอยู่บนกาย นี้นั่นเอง เบื่อหน่ายในกายชื่อว่าสำรวมอินทรีย์ ภิกษุ ท. !
สมาชิกหมายเลข 4427540
ทาน กับ สติปัฏฐาน
ทาน (รวมถึง สีลนุสติ หรือการประกอบอธิจิต) สามารถโยงเข้ามาหมวดสติปัฏฐาน (ซึ่งโดยมากจะกล่าวกันแต่ในมุมสมาธิ) เพียงแต่ต้องการๆมนสิการที่ถูก หรือ เรียกว่าเป็นผู้ที่ได้สดับ -ทรงไม่ห้ามปิติ และ ปราโม
สมาชิกหมายเลข 8370601
ชวนศึกษา : อินทรีย์ ๕ ประการ มีอารมณ์ต่างกัน มีโคจรต่างกัน ...อะไรเล่าย่อมเสวยอารมณ์อันเป็นโคจรของอินทรีย์ ๕ ประการนี้
ขอถวายความนอบน้อมแด่พระรัตนตรัย เชิญชวนร่วมกันศึกษาพระไตรปิฎก การได้อ่านศึกษาพระไตรปิฎก (แม้จะเป็นพระไตรปิฎกแปล) น้อมกายใจเสมือนอยู่ต่อหน้าพระพักตร์ ของพระตถาคต ๒. อุณณาภพราหมณสูต
วินโย
* * * จรณะ ๑๕ . . . . ข้อ ๒ สำรวมอินทรีย์ . . . ที่ผมเข้าใจ . . .
พระพุทธคุณบทที่ ๓ ว่า วิชชาจรณสัมปันโน ผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ หลายท่านคงเคยผ่านสายตามาแล้ว แต่อาจไม่รู้ถึงความสำคัญ หรือความหมาย ทั้งที่คำนี้มีในพระไตรปิฏกเกินกว่า 70แห่ง กระจายอยู่ในพระไตรปิฏกถ
P2wichai
สติปัฎฐาน๔หนทางนี้เป็นที่ไปอันเอก กับ "อภิชฌา และ โทมนัส"
......ยะทิทัง จัตตาโร สะติปัฏฐานา. ทางนี้คือสติปัฏฐาน (ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสติ) ๔ อย่าง, กะตะมา จัตตาโร. สติปัฏฐาน ๔ อย่าง คืออะไรบ้าง?, อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลา
สมาชิกหมายเลข 3232080
ดับทุกข์ด้วยธรรมะ เพราะไม่ถือมั่น จึงไม่มีตัณหามานะ ทิฐิ
พุทธวจน เมื่อผู้นั้น ยึดมั่นถือมั่นว่า เราเป็น ในกาลนั้นอินทรีย์ ๕ คือ จักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ ย่อมหยั่งลง ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใจมีอยู่ ธรรมทั้งหลายมีอยู่ อวิชชาธาตุมี
อนิจจังสังขารไม่เที่ยง
" หลักปฏิบัติที่ถูกต้อง เพื่อความพ้นทุกข์ "
หลักปฏิบัติที่ถูกต้อง เพื่อความพ้นทุกข์ ดูก่อนภิกษุ ท! ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ ชื่อว่าเป็นผู้ปฎิบัติไม่ผิด และ ชื่อว่าเธอปรารภปัญญาเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย ธรรม3 ประการเป็นไฉน ดูก่อน
สมาชิกหมายเลข 4427540
ละนันทิ จิตหลุดพ้นได้ยังไง ทุกคน ลองคิดให้ดู ละนันทิ คือการละสังโยชน์
หลุดพ้นได้ยังไงเอ่ย คุณจะคิด ยังไงจะคิดอกุศล หรือกุศล มันต้องใช้ความคิด อยู่ดี การละนันทิ คือการตัดภพตัดชาติ ตัดกามค้บ ลองดูคลิปนี้ เดี๋ยวทุกคนน่าจะเข้าใจ แล้วลองดูพระสวดด้วย อ่านให้ดีๆอ่านให้ละเอียดอ
สมาชิกหมายเลข 8031997
พระไตรปิฎกสงสัยคำว่า มนะมีอยู่ หมายถึงอะไรครับ
๕. สมนุปัสสนาสูตร ว่าด้วยการพิจารณาเห็นอุปาทานขันธ์ ๕ พระนครสาวัตถี ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก
อริยสัจ
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
ศาสนาพุทธ
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
ไม่รวบถือ ไม่แยกถือ อย่างไร ไม่ให้เกิดความยินดียินร้าย?
‘มาเถิด ภิกษุ เธอจงเป็นผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย’ คือ เธอเห็นรูปทางตาแล้ว อย่ารวบถือ อย่าแยกถือ จงปฏิบัติเพื่อสำรวม จักขุนทรีย์(อินทรีย์คือจักขุ) ซึ่งเมื่อไม่สำรวมแล้วจะเป็นเหตุให้ถูกบาปอกุศลธรรม คืออภิชฌา(ความเพ่งเล็งอยากได้สิ่งของของเขา) และโทมนัส(ความทุกข์ใจ) ครอบงำได้ เธอจงรักษาจักขุนทรีย์ จงถึงความสำรวมในจักขุนทรีย์