โรคติดหวาน เกิดขึ้นเมื่อได้ทานอาหารที่มีส่วนผสมของน้ำตาล ทำให้เกิดความพึงพอใจในรสชาติ
ส่งผลให้สมองจดจำไว้ว่าหากต้องการความพึงพอใจแบบนี้ ควรมีการดื่มหรือทานซ้ำอีกครั้ง อยากกินอะไรหวานๆ อยู่ตลอด
นั่นก็หมายความว่า “
คุณกำลังเป็นโรคติดหวาน”
หากฝืน บังคับตัวเองให้ไม่ทาน ทำให้เกิดความรู้สึกหงุดหงิด อารมณ์แปรปรวนได้ ผู้ที่เป็นโรคติดหวานมักมีอาการ
วันนี้พี่หมอฝั่งธน...จะพามา Check List คุณกำลังเสพติด ความหวานอยู่หรือเปล่า
การกินอาหารที่มีรสชาติหวานหรือน้ำตาลมากเกินไป ทำให้ได้รับพลังงานมากกว่าความต้องการ
จนร่างกายไม่สามารถเผาผลาญพลังงานหรือนำไปใช้ไม่หมด กลายเป็นไขมันสะสมในร่างกาย
ตามหน้าท้อง ต้นขา สะโพก ฯลฯ ยังเป็นสาเหตุให้ร่างกายหลั่งสารอินซูลินออกมามากเกินจำเป็น
ส่งผลต่อการผลิตอินซูลินได้ปริมาณน้อยลง นำไปสู่การเป็นโรคเบาหวาน
Check List พฤติกรรม ‘ติดหวาน’ มากน้อยแค่ไหน
VVVVV
ปรับพฤติกรรมให้อ่อนหวาน
1. ไม่อดอาหาร กินอาหารตามเวลา สารอาหารครบถ้วน และสัดส่วนที่เหมาะสม
2. สั่งเครื่องดื่มหวานน้อย ค่อย ๆ ปรับลดความหวานลง
3. ลดการซื้อขนมหรือเครื่องดื่มรสหวานระหว่างวัน หรือลดการซื้อเก็บไว้ที่บ้าน
4. ลดการปรุงเพิ่มด้วยน้ำตาล น้ำเชื่อม ทั้งในอาหารและเครื่องดื่ม
5. ดื่มน้ำเปล่าบ่อย ๆ
6. เลือกของว่างที่มีประโยชน์ เช่น ผลไม้หวานน้อย ถั่ว ธัญพืช
ลดการกินหวานอย่างมีวินัยและทำอย่างต่อเนื่อง สามารถปรับนิสัยการกินได้ เพราะการดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงนั้น
จะช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทาน ช่วยปกป้องการเจ็บป่วยหรือโรคภัยไข้เจ็บได้
สำหรับใครที่ชอบกินหวานมากๆ อาจไม่จำเป็นต้องหักดิบเลิกของหวานทันที ควรค่อย ๆ ลดปริมาณลงวันละนิด
จนกว่าร่างกายจะปรับตัวกับความหวานที่น้อยลง เพื่อสุขภาพที่ดีค่ะ
ความรู้เพิ่มเติม
https://www.youtube.com/watch?v=_IPzlfLQ5uU
คุณ กำลังเสพติด..ความหวาน
ส่งผลให้สมองจดจำไว้ว่าหากต้องการความพึงพอใจแบบนี้ ควรมีการดื่มหรือทานซ้ำอีกครั้ง อยากกินอะไรหวานๆ อยู่ตลอด
นั่นก็หมายความว่า “คุณกำลังเป็นโรคติดหวาน”
หากฝืน บังคับตัวเองให้ไม่ทาน ทำให้เกิดความรู้สึกหงุดหงิด อารมณ์แปรปรวนได้ ผู้ที่เป็นโรคติดหวานมักมีอาการ
วันนี้พี่หมอฝั่งธน...จะพามา Check List คุณกำลังเสพติด ความหวานอยู่หรือเปล่า
การกินอาหารที่มีรสชาติหวานหรือน้ำตาลมากเกินไป ทำให้ได้รับพลังงานมากกว่าความต้องการ
จนร่างกายไม่สามารถเผาผลาญพลังงานหรือนำไปใช้ไม่หมด กลายเป็นไขมันสะสมในร่างกาย
ตามหน้าท้อง ต้นขา สะโพก ฯลฯ ยังเป็นสาเหตุให้ร่างกายหลั่งสารอินซูลินออกมามากเกินจำเป็น
ส่งผลต่อการผลิตอินซูลินได้ปริมาณน้อยลง นำไปสู่การเป็นโรคเบาหวาน
Check List พฤติกรรม ‘ติดหวาน’ มากน้อยแค่ไหน
VVVVV
ปรับพฤติกรรมให้อ่อนหวาน
1. ไม่อดอาหาร กินอาหารตามเวลา สารอาหารครบถ้วน และสัดส่วนที่เหมาะสม
2. สั่งเครื่องดื่มหวานน้อย ค่อย ๆ ปรับลดความหวานลง
3. ลดการซื้อขนมหรือเครื่องดื่มรสหวานระหว่างวัน หรือลดการซื้อเก็บไว้ที่บ้าน
4. ลดการปรุงเพิ่มด้วยน้ำตาล น้ำเชื่อม ทั้งในอาหารและเครื่องดื่ม
5. ดื่มน้ำเปล่าบ่อย ๆ
6. เลือกของว่างที่มีประโยชน์ เช่น ผลไม้หวานน้อย ถั่ว ธัญพืช
ลดการกินหวานอย่างมีวินัยและทำอย่างต่อเนื่อง สามารถปรับนิสัยการกินได้ เพราะการดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงนั้น
จะช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทาน ช่วยปกป้องการเจ็บป่วยหรือโรคภัยไข้เจ็บได้
สำหรับใครที่ชอบกินหวานมากๆ อาจไม่จำเป็นต้องหักดิบเลิกของหวานทันที ควรค่อย ๆ ลดปริมาณลงวันละนิด
จนกว่าร่างกายจะปรับตัวกับความหวานที่น้อยลง เพื่อสุขภาพที่ดีค่ะ
ความรู้เพิ่มเติม
https://www.youtube.com/watch?v=_IPzlfLQ5uU