1.
ผู้ป่วยโรคหัวใจชนิดต่างๆ เช่น โรคหัวใจแต่กำเนิน โรคลิ้นหัวใจพิการ โรคเยื่อบุผนังหัวใจอักเสบ หากมีแหล่งเชื้อโรคอยู่ในช่องปากจากฟันผุ หรือโรคเหงือกอักเสบ อาจทำให้มีการติดเชื้อเข้าสู่กระแสเลือด ส่งผลให้เกิดภาวะเยื่อหุ้มบุหัวใจอักเสบได้
2.
โรคเบาหวาน การมีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง จะทำให้มีโอกาสเกิดโรคเหงือกอักเสบได้ง่าย และมีความรุนแรงกว่าคนปกติ
3.
ผู้ป่วยโรคไตวายระยะสุดท้าย ที่ต้องล้างไตประจำ
4.
ผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษาบริเวณใบหน้าและลำคอ ผลกระทบจากการฉายรังสีทำให้มีการหลุดลอกของเนื้อเยื่อบุผิวในช่องปาก ต่อมน้ำลายผลิตน้ำลายได้น้อยลงมีโอกาสเกิดโรคฟันผุและเหงือกอักเสบได้ง่ายขึ้น
5.
ผู้ป่วยทางโลหิตวิทยา เช่น โรคมะเร็งเม็ดเลือด ซึ่งต้องได้รับการรักษาโดยให้เคมีบำบัด มีผลทำให้เม็ดเลือดขาวต่ำลงกว่าปกติ ร่างกายมีภูมิต้านทานต่ำลง จึงมีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายขึ้น โรคธาลัสซีเมียที่ได้รับการตัดม้าม
6.
ผู้ป่วยที่ได้รับการเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ ผู้ป่วยกลุ่มนี้จำเป็นต้องได้รับยากดภูมิคุ้มกันหรือสเตียรอยด์ มีผลทำให้ร่างกายมีภูมิต้านทานต่ำลง จึงมีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายขึ้น
7.
ผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันของร่างกาย มีปฏิกิริยากับเนื้อเยื่อตนเอง (SLE)
8.
ผู้ป่วยที่มีไข้สูงไม่ทราบสาเหตุ โรคในช่องปาก เช่น โรคฟันผุหรือโรคเหงือกอักเสบ อาจะเป็นสาเหตุเริ่มต้นที่ทำให้เกิดการติดเชื้อทั่วร่างกาย โดยผ่านทางกระแสเลือดจนทำให้มีไข้ขึ้นสูงได้
กลุ่มผู้ป่วยที่ต้องควรดูแลเรื่อง สุขภาพช่องปากและฟัน
2. โรคเบาหวาน การมีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง จะทำให้มีโอกาสเกิดโรคเหงือกอักเสบได้ง่าย และมีความรุนแรงกว่าคนปกติ
3. ผู้ป่วยโรคไตวายระยะสุดท้าย ที่ต้องล้างไตประจำ
4. ผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษาบริเวณใบหน้าและลำคอ ผลกระทบจากการฉายรังสีทำให้มีการหลุดลอกของเนื้อเยื่อบุผิวในช่องปาก ต่อมน้ำลายผลิตน้ำลายได้น้อยลงมีโอกาสเกิดโรคฟันผุและเหงือกอักเสบได้ง่ายขึ้น
5. ผู้ป่วยทางโลหิตวิทยา เช่น โรคมะเร็งเม็ดเลือด ซึ่งต้องได้รับการรักษาโดยให้เคมีบำบัด มีผลทำให้เม็ดเลือดขาวต่ำลงกว่าปกติ ร่างกายมีภูมิต้านทานต่ำลง จึงมีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายขึ้น โรคธาลัสซีเมียที่ได้รับการตัดม้าม
6. ผู้ป่วยที่ได้รับการเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ ผู้ป่วยกลุ่มนี้จำเป็นต้องได้รับยากดภูมิคุ้มกันหรือสเตียรอยด์ มีผลทำให้ร่างกายมีภูมิต้านทานต่ำลง จึงมีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายขึ้น
7. ผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันของร่างกาย มีปฏิกิริยากับเนื้อเยื่อตนเอง (SLE)
8. ผู้ป่วยที่มีไข้สูงไม่ทราบสาเหตุ โรคในช่องปาก เช่น โรคฟันผุหรือโรคเหงือกอักเสบ อาจะเป็นสาเหตุเริ่มต้นที่ทำให้เกิดการติดเชื้อทั่วร่างกาย โดยผ่านทางกระแสเลือดจนทำให้มีไข้ขึ้นสูงได้