https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=9&item=26&items=25&preline=1
...
[๓๒] ๖. (๒) อนึ่ง ในฐานะที่ ๒ สมณพราหมณ์ผู้เจริญ อาศัยอะไร ปรารภอะไรจึงมีทิฏฐิว่า
บางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง
บัญญัติอัตตาและโลกว่า บางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง?
ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเทวดาชื่อว่าขิฑฑาปโทสิกะมีอยู่ พวกนั้นพากันหมกมุ่นอยู่แต่
ในความรื่นรมย์ คือ การสรวลเสและการเล่นหัวจนเกินเวลา เมื่อพวกนั้นพากันหมกมุ่น
อยู่แต่ในความรื่นรมย์ คือ
การสรวลเสและการเล่นหัวจนเกินเวลา สติก็ย่อมหลงลืม เพราะสติ
หลงลืม จึงพากันจุติจากชั้นนั้น
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เป็นฐานะที่จะมีได้แล ที่
สัตว์ผู้ใดผู้หนึ่งจุติจากชั้นนั้นแล้วมาเป็นอย่างนี้
เมื่อมาเป็นอย่างนี้แล้ว จึงออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเมื่อบวชแล้ว อาศัยความเพียรเป็นเครื่องเผากิเลส
อาศัยความเพียรที่ตั้งมั่น อาศัยความประกอบเนืองๆ อาศัยความไม่ประมาท อาศัยมนสิการโดยชอบ
แล้วบรรลุเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องตั้งมั่นแห่งจิต
ตามระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนนั้นได้
หลังแต่นั้นไประลึกไม่ได้เขาจึงกล่าวอย่างนี้ว่า
"
ท่านพวกเทวดาผู้มิใช่เหล่าขิฑฑาปโทสิกะ ย่อมไม่พากันหมกมุ่นอยู่แต่ใน
ความรื่นรมย์ คือ การสรวลเส และการเล่นหัวจนเกินเวลา เมื่อพวกนั้นไม่พากันหมกมุ่นอยู่แต่
ในความรื่นรมย์ คือ การสรวลเส และการเล่นหัวจนเกินเวลา สติย่อมไม่หลงลืม เพราะสติ
ไม่หลงลืม พวกเหล่านั้นจึงไม่จุติจากชั้นนั้น เป็นผู้เที่ยง ยั่งยืน คงทน มีอันไม่แปรผัน
เป็นธรรมดา จักตั้งอยู่เที่ยงเสมอไปเช่นนั้นทีเดียว "
"
ส่วนพวกเราเหล่าขิฑฑาปโทสิกะ หมกมุ่นอยู่แต่ในความรื่นรมย์ คือ การสรวลเส
และการเล่นหัวจนเกินเวลา เมื่อพวกเรานั้นพากันหมกมุ่นอยู่แต่ในความรื่นรมย์ คือ การสรวลเส
และการเล่นหัวจนเกินเวลา สติย่อมหลงลืม เพราะสติหลงลืม พวกเราจึงพากันจุติจากชั้นนั้น
เป็นผู้ไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน มีอายุน้อย ยังต้องจุติมาเป็นอย่างนี้เช่นนี้ "
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นฐานะที่ ๒
ซึ่งสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง อาศัยแล้ว ปรารภแล้วจึงมีทิฏฐิว่า
บางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง
ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่า บางอย่างเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยง.
สรุป...
1. สัตว์..ที่เดิมเป็นเทวดาพวก " ขิฑฑาปโทสิก "... ตายจาะเทวดา..มาได้การเกิดเป็นมนุษย์
แล้วมีคุณวิเศษโดยระลึกชาติได้..แค่ตอนที่เป็นเทวดา..นั้น หลังจากนั้นระลึกไม่ได้..
ก็รู้ว่า.. เพราะการสรวลเสเฮอาจนขาดสติ..จึงตายจากสวรรค์ จึงสรุปว่า.."
ตนนะ.ไม่เที่ยง "
ส่วนพวกที่ไม่ใช่เทวดาพวกขิฑฑาปโทสิก...ไม่สรวลเสเฮอาจนขาดสติ.. "
พวกอื่นนั้น..เป็นผู้เที่ยง "
เมื่อรู้แค่นี้..ก็เลย..บัญญัติว่า
"
บางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง
ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่า บางอย่างเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยง. "
2. การที่เข้ารู้ว่า..เขาก่อนมาเกิด..ได้กายเทวดาขิฑฑาปโทสิก.. และตอนนี้ได้กายมนุษย์
เพราะการระลึกชาติได้... สิ่งนี้เป็นจริง...พระศาสดาท่านรับรอง
3. ส่วนที่ไม่จริง.. เป็นมิจฉาทิฏฐิ..ก็คือ... "
สัตว์ทั้งหลายไม่เที่ยง ".. ไม่มีสัตว์เที่ยง..
สิ่งที่เที่ยงคือ..."
หากไม่สิ้นตัณหา...เพราะว่ารู้โดยชอบแล้ว.. ก็จะท่องไปในวัฏฏะอย่างไม่มีสิ้นสุด "
ดังพุทธพจน์ที่ว่า...
" เราไม่กล่าว่า.. สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น..มีตัณหาเป็นเครื่องประกอบไว้ ท่องเที่ยวไปมาอยู่
จะกระทำที่สุดทุกข์ได้... "
4. อันนนี้..นอกประเด็น
ตอบ..คำถามที่ว่า
"ที่ว่าเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ" แล้วพระอรหันต์มีเวทนาหรือเปล่า?
ตอบ... พระอรหันต์ที่ยังมีขันธ์ยังไม่แตกสลายไป..มีเวทนาซิ แต่ท่านไม่ยึดถือเวทนานั้นแล้ว..
นี้คือ..หลักฐาน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้- สอุปาทิเสสะนิพพานธาตุ..ดูตรงคำว่า " ภิกษุนั้นยังเสวยความพอใจขไม่พอใจ "
- อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ..ดูตรงคำว่า " เวทนาทั้งหลายเป็นของดับเย็นในอัตตภาพ "
ไม่ใช้อรรถกถา และ อภิธรรม หอมผู้รู้ชอบถึงการดับของสัตว์ จะอธิบายยังไง?
ตอบ.. คนเข้าใจปฏิจจสมุปปาท.. ไม่ต้องถึงความเชื่อต่อผู้อื่น..ครับ..
ที่ว่าเวทนาดับ... ไม่ได้หมายความว่า.. เวทนาของพระอรหันต์ดับ..
หมายถึงอนาคตโน้น
แต่หมายความว่า... ปัจจจุบัน..พระอรหันต์..ดับ..อวิชชา-ตัณหา-อุปาทานได้แล้ว..
(เพราะอวิชชาดับ.. จริงไม่ปรุงแต่งสังสาร.. บุญ-อบุญ-อเนณชา..สรุปว่าไม่ปรุงแต่งกรรมใหม่)
เพราะว่า..ปัจจุบัน..อวิชชา-ตัณหา-อุปาทาน..มันดับไปแล้ว.. เมื่อชาตินี้..สิ้นไปหรือตายไป
วิญญาณจึงไม่หยั่งลง.. เมื่อวิญญาณไม่หยั่งลง.. ภพ..จึงไม่มี.. ชาติจึงไม่มี..
กล่าวอีกนัยหนึ่ง...
วิญญาณจึงไม่หยั่งลง.. นามรูปก็ไม่มี..
นามรูปไม่มี.. สฬายตนะ..ก็ไม่มี
สฬายตนะ..ไม่มี ผัสสะ..ก็ไม่มี
ผัสสะ..ไม่มี เวทนา..ก็ไม่มี
เวทนา..ไม่มี ตัณหา..ก็ไม่มี <====นี่...เวทนาดับ..ตัณหาจังดับ อยู่ตรงนี้
ผมไม่จำเป็นที่จะต้องไปอ่านความเห็นของใคร..
ผมเข้าใจปฏิจจสมุปปาท...ด้วยการใช้หลักมหาปเทส4..ที่พระศาสดาท่านทรงประทานมาให้
เอาสั้นๆก็คือ.. "
พระศาสดาท่านทรงสอน...ปฏิจจสมุปปปาทให้แก่ผม "
" สัตว์ "ตอนที่ 37 :ทิฏฐิ62..เอกัจจสัสสติกทิฏฐิ ๔ ..แบบที่ 2...สรวลเสเฮอา..จนตกสวรรค์
https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=9&item=26&items=25&preline=1
...
[๓๒] ๖. (๒) อนึ่ง ในฐานะที่ ๒ สมณพราหมณ์ผู้เจริญ อาศัยอะไร ปรารภอะไรจึงมีทิฏฐิว่า
บางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง
บัญญัติอัตตาและโลกว่า บางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง?
ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเทวดาชื่อว่าขิฑฑาปโทสิกะมีอยู่ พวกนั้นพากันหมกมุ่นอยู่แต่
ในความรื่นรมย์ คือ การสรวลเสและการเล่นหัวจนเกินเวลา เมื่อพวกนั้นพากันหมกมุ่น
อยู่แต่ในความรื่นรมย์ คือ การสรวลเสและการเล่นหัวจนเกินเวลา สติก็ย่อมหลงลืม เพราะสติ
หลงลืม จึงพากันจุติจากชั้นนั้น
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เป็นฐานะที่จะมีได้แล ที่สัตว์ผู้ใดผู้หนึ่งจุติจากชั้นนั้นแล้วมาเป็นอย่างนี้
เมื่อมาเป็นอย่างนี้แล้ว จึงออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเมื่อบวชแล้ว อาศัยความเพียรเป็นเครื่องเผากิเลส
อาศัยความเพียรที่ตั้งมั่น อาศัยความประกอบเนืองๆ อาศัยความไม่ประมาท อาศัยมนสิการโดยชอบ
แล้วบรรลุเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องตั้งมั่นแห่งจิต ตามระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนนั้นได้
หลังแต่นั้นไประลึกไม่ได้เขาจึงกล่าวอย่างนี้ว่า
" ท่านพวกเทวดาผู้มิใช่เหล่าขิฑฑาปโทสิกะ ย่อมไม่พากันหมกมุ่นอยู่แต่ใน
ความรื่นรมย์ คือ การสรวลเส และการเล่นหัวจนเกินเวลา เมื่อพวกนั้นไม่พากันหมกมุ่นอยู่แต่
ในความรื่นรมย์ คือ การสรวลเส และการเล่นหัวจนเกินเวลา สติย่อมไม่หลงลืม เพราะสติ
ไม่หลงลืม พวกเหล่านั้นจึงไม่จุติจากชั้นนั้น เป็นผู้เที่ยง ยั่งยืน คงทน มีอันไม่แปรผัน
เป็นธรรมดา จักตั้งอยู่เที่ยงเสมอไปเช่นนั้นทีเดียว "
" ส่วนพวกเราเหล่าขิฑฑาปโทสิกะ หมกมุ่นอยู่แต่ในความรื่นรมย์ คือ การสรวลเส
และการเล่นหัวจนเกินเวลา เมื่อพวกเรานั้นพากันหมกมุ่นอยู่แต่ในความรื่นรมย์ คือ การสรวลเส
และการเล่นหัวจนเกินเวลา สติย่อมหลงลืม เพราะสติหลงลืม พวกเราจึงพากันจุติจากชั้นนั้น
เป็นผู้ไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน มีอายุน้อย ยังต้องจุติมาเป็นอย่างนี้เช่นนี้ "
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นฐานะที่ ๒
ซึ่งสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง อาศัยแล้ว ปรารภแล้วจึงมีทิฏฐิว่า
บางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง
ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่า บางอย่างเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยง.
สรุป...
1. สัตว์..ที่เดิมเป็นเทวดาพวก " ขิฑฑาปโทสิก "... ตายจาะเทวดา..มาได้การเกิดเป็นมนุษย์
แล้วมีคุณวิเศษโดยระลึกชาติได้..แค่ตอนที่เป็นเทวดา..นั้น หลังจากนั้นระลึกไม่ได้..
ก็รู้ว่า.. เพราะการสรวลเสเฮอาจนขาดสติ..จึงตายจากสวรรค์ จึงสรุปว่า.." ตนนะ.ไม่เที่ยง "
ส่วนพวกที่ไม่ใช่เทวดาพวกขิฑฑาปโทสิก...ไม่สรวลเสเฮอาจนขาดสติ.. " พวกอื่นนั้น..เป็นผู้เที่ยง "
เมื่อรู้แค่นี้..ก็เลย..บัญญัติว่า
" บางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง
ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่า บางอย่างเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยง. "
2. การที่เข้ารู้ว่า..เขาก่อนมาเกิด..ได้กายเทวดาขิฑฑาปโทสิก.. และตอนนี้ได้กายมนุษย์
เพราะการระลึกชาติได้... สิ่งนี้เป็นจริง...พระศาสดาท่านรับรอง
3. ส่วนที่ไม่จริง.. เป็นมิจฉาทิฏฐิ..ก็คือ... " สัตว์ทั้งหลายไม่เที่ยง ".. ไม่มีสัตว์เที่ยง..
สิ่งที่เที่ยงคือ..." หากไม่สิ้นตัณหา...เพราะว่ารู้โดยชอบแล้ว.. ก็จะท่องไปในวัฏฏะอย่างไม่มีสิ้นสุด "
ดังพุทธพจน์ที่ว่า...
" เราไม่กล่าว่า.. สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น..มีตัณหาเป็นเครื่องประกอบไว้ ท่องเที่ยวไปมาอยู่
จะกระทำที่สุดทุกข์ได้... "
4. อันนนี้..นอกประเด็น
ตอบ..คำถามที่ว่า
"ที่ว่าเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ" แล้วพระอรหันต์มีเวทนาหรือเปล่า?
ตอบ... พระอรหันต์ที่ยังมีขันธ์ยังไม่แตกสลายไป..มีเวทนาซิ แต่ท่านไม่ยึดถือเวทนานั้นแล้ว..
นี้คือ..หลักฐาน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ไม่ใช้อรรถกถา และ อภิธรรม หอมผู้รู้ชอบถึงการดับของสัตว์ จะอธิบายยังไง?
ตอบ.. คนเข้าใจปฏิจจสมุปปาท.. ไม่ต้องถึงความเชื่อต่อผู้อื่น..ครับ..
ที่ว่าเวทนาดับ... ไม่ได้หมายความว่า.. เวทนาของพระอรหันต์ดับ.. หมายถึงอนาคตโน้น
แต่หมายความว่า... ปัจจจุบัน..พระอรหันต์..ดับ..อวิชชา-ตัณหา-อุปาทานได้แล้ว..
(เพราะอวิชชาดับ.. จริงไม่ปรุงแต่งสังสาร.. บุญ-อบุญ-อเนณชา..สรุปว่าไม่ปรุงแต่งกรรมใหม่)
เพราะว่า..ปัจจุบัน..อวิชชา-ตัณหา-อุปาทาน..มันดับไปแล้ว.. เมื่อชาตินี้..สิ้นไปหรือตายไป
วิญญาณจึงไม่หยั่งลง.. เมื่อวิญญาณไม่หยั่งลง.. ภพ..จึงไม่มี.. ชาติจึงไม่มี..
กล่าวอีกนัยหนึ่ง...
วิญญาณจึงไม่หยั่งลง.. นามรูปก็ไม่มี..
นามรูปไม่มี.. สฬายตนะ..ก็ไม่มี
สฬายตนะ..ไม่มี ผัสสะ..ก็ไม่มี
ผัสสะ..ไม่มี เวทนา..ก็ไม่มี
เวทนา..ไม่มี ตัณหา..ก็ไม่มี <====นี่...เวทนาดับ..ตัณหาจังดับ อยู่ตรงนี้
ผมไม่จำเป็นที่จะต้องไปอ่านความเห็นของใคร..
ผมเข้าใจปฏิจจสมุปปาท...ด้วยการใช้หลักมหาปเทส4..ที่พระศาสดาท่านทรงประทานมาให้
เอาสั้นๆก็คือ.. " พระศาสดาท่านทรงสอน...ปฏิจจสมุปปปาทให้แก่ผม "