ผมเข้าใจเกี่ยวกับขันธ์5 กาย วิญญาณ จิต ในนกุลปิตุสูตร ถูกต้องหรือไม่อย่างไร
https://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=17&A=1
๑. นกุลปิตุสูตร
-นกุลปิตาคหบดี ชรา สูงอายุ แก่ ผู้เฒ่า มีกายกระสับกระส่าย เจ็บป่วยประจำ กายกระสับกระส่าย จิตไม่กระสับกระส่าย สักกายทิฏฐิ ๒๐ 1.ไม่พิจารณาเห็นรูปโดยความเป็นอัตตา 2.ไม่พิจารณาเห็นอัตตาว่ามีรูป 3.ไม่พิจารณาเห็นรูปในอัตตา หรือ 4.ไม่พิจารณาเห็นอัตตาในรูป 4*5=20 ไม่ดำรงอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า ‘เราเป็นรูป รูปเป็นของเรา’
-หากดำรงอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า ‘เราเป็นรูป รูปเป็นของเรา’ รูปนั้นแปรผันเป็นอย่างอื่น เพราะรูปแปรผันและเป็นอย่างอื่น โสกะ (ความเศร้าโศก) ปริเทวะ
(ความคร่ำครวญ) ทุกข์ (ความทุกข์กาย) โทมนัส (ความทุกข์ใจ) และอุปายาส
(ความคับแค้นใจ) จึงเกิดขึ้นแก่เขา
คหบดี บุคคลชื่อว่าเป็นผู้มีกายกระสับกระส่าย และมีจิตกระสับกระส่าย
เป็นอย่างนี้แล ฯ (ในทางกลับกันเมื่อขันธ์5 แปรผัน ก็ไม่ทุกข์ )
-‘คหบดี เรื่องนี้เป็นอย่างนั้น คหบดี เรื่องนี้เป็นอย่างนั้น ความจริง กายนี้
กระสับกระส่าย เป็นดังฟองไข่ มีเปลือกหุ้มไว้ อนึ่ง บุคคลผู้บริหารกายนี้อยู่
พึงรับรองความไม่มีโรคได้แม้เพียงครู่เดียว จะมีอะไรเล่า นอกจากความโง่เขลา
เพราะเหตุนั้น ท่านพึงสำเหนียกอย่างนี้ว่า ‘เมื่อเรามีกายกระสับกระส่ายอยู่ จิต
จักไม่กระสับกระส่าย’ ท่านพึงสำเหนียกอย่างนี้
(จะเห็นว่า ขันธ์5 แปรผัน ชื่อว่า กายกระสับกระส่าย กายในที่นี้ คือ รูปกาย และนามกาย ถ้าว่าตามหลักปฏิจจสมุปบาท วิญญาณในที่นี้คือสภาวะรู้อารมณ์เท่านั้น )
(จิตไม่กระสับกระส่าย จิตในที่นี้ คือจิตที่ประกอบไปด้วย โสกะ (ความเศร้าโศก) ปริเทวะ
(ความคร่ำครวญ) ทุกข์ (ความทุกข์กาย) โทมนัส (ความทุกข์ใจ) และอุปายาส
(ความคับแค้นใจ) )
*****
ฯ...
ย่อมเห็นวิญญาณโดยความเป็นตน ๑ ย่อมเห็นตนมี
วิญญาณ ๑ ย่อมเห็นวิญญาณในตน ๑ ย่อมเห็นตนในวิญญาณ ๑ เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า
เราเป็นวิญญาณ วิญญาณของเรา เมื่อเขาตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นวิญญาณ วิญญาณ
ของเรา วิญญาณนั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะวิญญาณแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป
โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงเกิดขึ้น. ดูกรคฤหบดี ด้วยเหตุอย่างนี้แล
บุคคลจึงชื่อว่าเป็นผู้มีกายกระสับกระส่าย และเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่าย.
ฯ...
ขันธ์5 กาย วิญญาณ จิต ในนกุลปิตุสูตร
https://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=17&A=1
๑. นกุลปิตุสูตร
-นกุลปิตาคหบดี ชรา สูงอายุ แก่ ผู้เฒ่า มีกายกระสับกระส่าย เจ็บป่วยประจำ กายกระสับกระส่าย จิตไม่กระสับกระส่าย สักกายทิฏฐิ ๒๐ 1.ไม่พิจารณาเห็นรูปโดยความเป็นอัตตา 2.ไม่พิจารณาเห็นอัตตาว่ามีรูป 3.ไม่พิจารณาเห็นรูปในอัตตา หรือ 4.ไม่พิจารณาเห็นอัตตาในรูป 4*5=20 ไม่ดำรงอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า ‘เราเป็นรูป รูปเป็นของเรา’
-หากดำรงอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า ‘เราเป็นรูป รูปเป็นของเรา’ รูปนั้นแปรผันเป็นอย่างอื่น เพราะรูปแปรผันและเป็นอย่างอื่น โสกะ (ความเศร้าโศก) ปริเทวะ
(ความคร่ำครวญ) ทุกข์ (ความทุกข์กาย) โทมนัส (ความทุกข์ใจ) และอุปายาส
(ความคับแค้นใจ) จึงเกิดขึ้นแก่เขา
คหบดี บุคคลชื่อว่าเป็นผู้มีกายกระสับกระส่าย และมีจิตกระสับกระส่าย
เป็นอย่างนี้แล ฯ (ในทางกลับกันเมื่อขันธ์5 แปรผัน ก็ไม่ทุกข์ )
-‘คหบดี เรื่องนี้เป็นอย่างนั้น คหบดี เรื่องนี้เป็นอย่างนั้น ความจริง กายนี้
กระสับกระส่าย เป็นดังฟองไข่ มีเปลือกหุ้มไว้ อนึ่ง บุคคลผู้บริหารกายนี้อยู่
พึงรับรองความไม่มีโรคได้แม้เพียงครู่เดียว จะมีอะไรเล่า นอกจากความโง่เขลา
เพราะเหตุนั้น ท่านพึงสำเหนียกอย่างนี้ว่า ‘เมื่อเรามีกายกระสับกระส่ายอยู่ จิต
จักไม่กระสับกระส่าย’ ท่านพึงสำเหนียกอย่างนี้
(จะเห็นว่า ขันธ์5 แปรผัน ชื่อว่า กายกระสับกระส่าย กายในที่นี้ คือ รูปกาย และนามกาย ถ้าว่าตามหลักปฏิจจสมุปบาท วิญญาณในที่นี้คือสภาวะรู้อารมณ์เท่านั้น )
(จิตไม่กระสับกระส่าย จิตในที่นี้ คือจิตที่ประกอบไปด้วย โสกะ (ความเศร้าโศก) ปริเทวะ
(ความคร่ำครวญ) ทุกข์ (ความทุกข์กาย) โทมนัส (ความทุกข์ใจ) และอุปายาส
(ความคับแค้นใจ) )
*****
ฯ...
ย่อมเห็นวิญญาณโดยความเป็นตน ๑ ย่อมเห็นตนมี
วิญญาณ ๑ ย่อมเห็นวิญญาณในตน ๑ ย่อมเห็นตนในวิญญาณ ๑ เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า
เราเป็นวิญญาณ วิญญาณของเรา เมื่อเขาตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นวิญญาณ วิญญาณ
ของเรา วิญญาณนั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะวิญญาณแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป
โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงเกิดขึ้น. ดูกรคฤหบดี ด้วยเหตุอย่างนี้แล
บุคคลจึงชื่อว่าเป็นผู้มีกายกระสับกระส่าย และเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่าย.
ฯ...