ความอยากมีอยากเป็นตัวตนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือว่าความพอใจติดใจในรูปฌาน 4.
คืออยากเกิดอยากเป็นเช่นที่เป็นอยู่ตลอดไป
---
ภิกษุ ท. ! ที่สุดในเบื้องต้นของภวตัณหา ย่อมไม่ปรากฏ ; ก่อนแต่นี้ ภวตัณหามิได้มี ;
แต่ว่า ภวตัณหาเพิ่งมีต่อภายหลัง.
ภิกษุ ท. ! คำกล่าวอย่างนี้แหละเป็นคำที่ใคร ๆ๑ ควรกล่าว
และควรกล่าวด้วยว่า “ภวตัณหา ย่อมปรากฏ เพราะมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย”(ปฏิจจสมุปบาท) ดังนี้.
ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ถึงแม้ภวตัณหานั้น ก็เป็นธรรมชาติมีอาหาร หาใช่เป็นธรรมชาติที่ไม่มีอาหารไม่.
ก็อะไรเล่า เป็นอาหารของภวตัณหา ? คำตอบพึงมีว่า “อวิชชา เป็นอาหารของภวตัณหา” ดังนี้.
-สูตรที่ ๒ ยมกวรรค ทสก.อํ. ๒๔/๑๒๔/๖๒,
ว่าด้วยปัจจัยแห่งภวตัณหา
คืออยากเกิดอยากเป็นเช่นที่เป็นอยู่ตลอดไป
---
ภิกษุ ท. ! ที่สุดในเบื้องต้นของภวตัณหา ย่อมไม่ปรากฏ ; ก่อนแต่นี้ ภวตัณหามิได้มี ;
แต่ว่า ภวตัณหาเพิ่งมีต่อภายหลัง.
ภิกษุ ท. ! คำกล่าวอย่างนี้แหละเป็นคำที่ใคร ๆ๑ ควรกล่าว
และควรกล่าวด้วยว่า “ภวตัณหา ย่อมปรากฏ เพราะมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย”(ปฏิจจสมุปบาท) ดังนี้.
ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ถึงแม้ภวตัณหานั้น ก็เป็นธรรมชาติมีอาหาร หาใช่เป็นธรรมชาติที่ไม่มีอาหารไม่.
ก็อะไรเล่า เป็นอาหารของภวตัณหา ? คำตอบพึงมีว่า “อวิชชา เป็นอาหารของภวตัณหา” ดังนี้.
-สูตรที่ ๒ ยมกวรรค ทสก.อํ. ๒๔/๑๒๔/๖๒,