ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าเห็นปฏิจจสมุปบาท’
(โย ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ ปสฺสติ, โส ธมฺมํ ปสฺสติ;
โย ธมฺมํ ปสฺสติ,โส ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ ปสฺสติ)
.....
ก็ปัญจุปาทานขันธ์เหล่าใด อุปาทานขันธ์คือรูป อุปาทานขันธ์คือเวทนา
อุปาทานขันธ์คือสัญญา อุปาทานขันธ์คือสังขาร อุปาทานขันธ์คือวิญญาณ
ธรรมทั้งหลายเหล่านี้แล ชื่อว่า ปฏิจจสมุปปันนธรรม
กล่าวโดยย่อแล้ว ขันธ์ 5 ที่ยังมีความยึดถือเป็นทุกข์.
ธรรมอันเป็นธรรมชาติอาศัยซึ่งกันและกันแล้วเกิดขึ้นซึ่งเป็นกฎสูงสุดของธรรมชาตินั้น ย่อมตั้งอยู่แล้วนั่นเทียว
คือความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น เป็นกระบวนการเกิดขึ้นพร้อมทางฝ่ายจิตวิญญาณล้วน ฯ
.... อันใคร ๆ ก็ตามซึ่งเป็นผู้รู้ควรกล่าว ว่า “ภวตัณหา(ความมีความเป็น ว่า ‘นั่นของเรา นั่นเป็นตัวเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา’)
ย่อมปรากฏ เพราะมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย” ดังนี้.
เพราะมีอวิชชาเป็นอาหารของภวตัณหาเป็นต้น ฯลฯ
และแสดงด้วยว่า “อวิชชา ย่อมปรากฏเพราะมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย” ดังนี้.
เพราะมีนิวรณ์ทั้งหลาย 5 เป็นอาหารของอวิชชาเป็นต้น ฯลฯ
- ทสก.อํ.๒๔/๑๒๔/๖๒.
.
‘ผู้ใดเห็นปฏิจจสมุปบาท ผู้นั้นชื่อว่าเห็นธรรม
(โย ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ ปสฺสติ, โส ธมฺมํ ปสฺสติ;
โย ธมฺมํ ปสฺสติ,โส ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ ปสฺสติ)
.....
ก็ปัญจุปาทานขันธ์เหล่าใด อุปาทานขันธ์คือรูป อุปาทานขันธ์คือเวทนา
อุปาทานขันธ์คือสัญญา อุปาทานขันธ์คือสังขาร อุปาทานขันธ์คือวิญญาณ
ธรรมทั้งหลายเหล่านี้แล ชื่อว่า ปฏิจจสมุปปันนธรรม
กล่าวโดยย่อแล้ว ขันธ์ 5 ที่ยังมีความยึดถือเป็นทุกข์.
ธรรมอันเป็นธรรมชาติอาศัยซึ่งกันและกันแล้วเกิดขึ้นซึ่งเป็นกฎสูงสุดของธรรมชาตินั้น ย่อมตั้งอยู่แล้วนั่นเทียว
คือความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น เป็นกระบวนการเกิดขึ้นพร้อมทางฝ่ายจิตวิญญาณล้วน ฯ
.... อันใคร ๆ ก็ตามซึ่งเป็นผู้รู้ควรกล่าว ว่า “ภวตัณหา(ความมีความเป็น ว่า ‘นั่นของเรา นั่นเป็นตัวเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา’)
ย่อมปรากฏ เพราะมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย” ดังนี้.
เพราะมีอวิชชาเป็นอาหารของภวตัณหาเป็นต้น ฯลฯ
และแสดงด้วยว่า “อวิชชา ย่อมปรากฏเพราะมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย” ดังนี้.
เพราะมีนิวรณ์ทั้งหลาย 5 เป็นอาหารของอวิชชาเป็นต้น ฯลฯ
- ทสก.อํ.๒๔/๑๒๔/๖๒.
.