เบี้ยประกันสุขภาพแบบโคเพย์เมนต์กับประกันสุขภาพแบบมีความรับผิดชอบในค่ารักษาพยาบาลส่วนแรกต่างก็ถูก เหมาะสำหรับผู้มีสวัสดิการเดิมอยู่แล้วและต้องการเพิ่มวงเงินค่ารักษาพยาบาล แต่มีข้อเปรียบเทียบดังนี้
การเปรียบเทียบระหว่างโคเพย์เมนต์ 20% กับลูกค้ามีความรับผิดชอบในค่ารักษาพยาบาล 20,000 บาทแรก
กรณีที่ 1 เข้ารักษาด้วยวงเงิน 100,000 บาท
แบบโคเพย์เมนต์ 20% ดังนั้นลูกค้าจ่าย 20,000 บาท บริษัทรับผิดชอบ 80,000 บาท
แบบมีส่วนรับผิดชอบในค่ารักษาพยาบาล 20,000 บาทแรก ดังนั้นลูกค้าจ่าย 20,000 บาท บริษัทรับผิดชอบ 80,000 บาท
สรุปทั้งสองแบบเสมอกัน
กรณีที่ 2 เข้ารักษาด้วยวงเงิน 110,000 บาท
แบบโคเพย์เมนต์ 20% ดังนั้นลูกค้าจ่าย 22,000 บาท บริษัทรับผิดชอบ 78,000 บาท
แบบมีส่วนรับผิดชอบในค่ารักษาพยาบาล 20,000 บาทแรก ดังนั้นลูกค้าจ่าย 20,000 บาท บริษัทรับผิดชอบ 90,000 บาท
สรุป แบบมีส่วนรับผิดชอบในค่ารักษาพยาบาล 20,000 บาท ชนะ ลูกค้าจ่ายน้อยกว่า
กรณีที่ 3 เข้ารักษาด้วยวงเงิน 50,000 บาท
แบบโคเพย์เมนต์ 20% ดังนั้นลูกค้าจ่าย 10,000 บาท บริษัทรับผิดชอบ 40,000 บาท
แบบมีส่วนรับผิดชอบในค่ารักษาพยาบาล 20,000 บาทแรก ดังนั้นลูกค้าจ่าย 20,000 บาท บริษัทรับผิดชอบ 30,000 บาท
สรุป แบบแบบโคเพย์เมนต์ ชนะ เพราะลูกค้าจ่ายเงินน้อยกว่า
ดังนั้นจะใช้แบบโคเพย์เมนต์เหมาะสำหรับวงเงินค่ารักษาพยาบาลต่ำกว่า 100,001 บาท เท่านั้น นอกนั้น ลูกค้าเสียเงินมากกว่า
เปรียบเทียบประกันสุขภาพระหว่างโคเพย์เมนต์กับการมีส่วนรับผิดชอบค่ารักษาส่วนแรก (Excess,Deduct)
การเปรียบเทียบระหว่างโคเพย์เมนต์ 20% กับลูกค้ามีความรับผิดชอบในค่ารักษาพยาบาล 20,000 บาทแรก
กรณีที่ 1 เข้ารักษาด้วยวงเงิน 100,000 บาท
แบบโคเพย์เมนต์ 20% ดังนั้นลูกค้าจ่าย 20,000 บาท บริษัทรับผิดชอบ 80,000 บาท
แบบมีส่วนรับผิดชอบในค่ารักษาพยาบาล 20,000 บาทแรก ดังนั้นลูกค้าจ่าย 20,000 บาท บริษัทรับผิดชอบ 80,000 บาท
สรุปทั้งสองแบบเสมอกัน
กรณีที่ 2 เข้ารักษาด้วยวงเงิน 110,000 บาท
แบบโคเพย์เมนต์ 20% ดังนั้นลูกค้าจ่าย 22,000 บาท บริษัทรับผิดชอบ 78,000 บาท
แบบมีส่วนรับผิดชอบในค่ารักษาพยาบาล 20,000 บาทแรก ดังนั้นลูกค้าจ่าย 20,000 บาท บริษัทรับผิดชอบ 90,000 บาท
สรุป แบบมีส่วนรับผิดชอบในค่ารักษาพยาบาล 20,000 บาท ชนะ ลูกค้าจ่ายน้อยกว่า
กรณีที่ 3 เข้ารักษาด้วยวงเงิน 50,000 บาท
แบบโคเพย์เมนต์ 20% ดังนั้นลูกค้าจ่าย 10,000 บาท บริษัทรับผิดชอบ 40,000 บาท
แบบมีส่วนรับผิดชอบในค่ารักษาพยาบาล 20,000 บาทแรก ดังนั้นลูกค้าจ่าย 20,000 บาท บริษัทรับผิดชอบ 30,000 บาท
สรุป แบบแบบโคเพย์เมนต์ ชนะ เพราะลูกค้าจ่ายเงินน้อยกว่า
ดังนั้นจะใช้แบบโคเพย์เมนต์เหมาะสำหรับวงเงินค่ารักษาพยาบาลต่ำกว่า 100,001 บาท เท่านั้น นอกนั้น ลูกค้าเสียเงินมากกว่า