คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 12
กระทรวงสาธารณสุข แถลงสถานการณ์โควิด-19 ประจำวันที่ 8 มีนาคม 2565 เวลา 13.30 น.
https://www.facebook.com/fanmoph/videos/699991421185045/ (มีคลิป)
แถลงความคืบหน้าสถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ณ กระทรวงสาธารณสุข
8 มีนาคม 2565
ยกระดับ “หมอพร้อม” มุ่งดูแลสุขภาพของคนไทย ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ควบคู่ไปกับการคุ้มครองข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคล และคุณภาพตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ ด้วยการผนึกกำลังกันของ 4 หน่วยงาน ได้แก่ แพทยสภา ทันตแพทยสภา สภาเภสัชกรรม และสภาเทคนิคการแพทย์ เพื่อเป็น Digital Health Platform ของประเทศ
https://www.facebook.com/ThaigovSpokesman/posts/329170825912322 (มีคลิป)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
รวมสไลด์แถลงสถานการณ์โควิด-19 จาก ศบค.
วันอังคารที่ 8 มีนาคม 2565
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517931326491863
จำนวนการได้รับวัคซีนสะสม (28 ก.พ. 2564 - 7 มี.ค. 2565)
รวม 125,036,572 โดส ใน 77 จังหวัด
ภาพรวมยอดฉีดวัคซีน วันที่ 7 มีนาคม 2565
ยอดฉีดทั่วประเทศ 120,488 โดส
เข็มที่ 1 : 35,115 ราย
เข็มที่ 2 : 13,535 ราย
เข็มที่ 3 : 71,838 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 1 สะสม : 53,983,869 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 2 สะสม : 49,878,379 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 3 สะสม : 21,174,324 ราย
แหล่งข้อมูล : MOPH-IC
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517914673160195
ผู้ป่วยโควิดในไทย พบเป็น Omicron “ BA.2 ” เกินครึ่ง
แพร่เร็วกว่า “ BA.1 ” 1.4 เท่า แต่ความรุนแรงไม่ต่างกัน
นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และนพ.บัลลังก์ อุปพงษ์ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ แถลงข่าวการเฝ้าระวังสายพันธุ์โควิด 19 ในประเทศไทย โดย นพ.ศุภกิจกล่าวว่า จากการสุ่มตรวจสายพันธุ์ตัวอย่างเชื้อโควิด 19 ตั้งแต่วันที่ 26 กุมภาพันธ์ - 4 มีนาคม 2565 จำนวน 1,905 ราย พบสายพันธุ์เดลตาเพียง 7 ราย ที่เหลือเป็นสายพันธุ์โอมิครอน คิดเป็น 99.63% และจากการตรวจสายพันธุ์ย่อยรวม 1,802 ตัวอย่าง พบเป็นสายพันธุ์ย่อย BA.2 ถึง 51.8% แสดงว่า BA.2 แพร่เร็วกว่า BA.1 ซึ่งมีข้อมูลว่าแพร่เร็วกว่า 1.4 เท่า ขณะที่การแพร่ในครัวเรือน BA.2 อยู่ที่ 39% ส่วน BA.1 อยู่ที่ 29% หรือแพร่เร็วกว่า 10% ดังนั้น สัปดาห์ถัดไปอาจจะพบ BA.2 สูงขึ้นและอาจมาแทน BA.1 ได้ อย่างไรก็ตาม พบว่าความรุนแรงไม่แตกต่างกัน โดยพบว่า BA.2 ดื้อต่อวัคซีนเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ยา “โมโนโคลนอลแอนติบอดี” หรือยาจากภูมิคุ้มกันที่ใช้รักษาผู้ติดเชื้อสายพันธุ์เดลตาและ BA.1 ได้ จะไม่ค่อยได้ผลใน BA.2 แต่ยังไม่กระทบกับวิธีรักษา เนื่องจากโอมิครอนส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง การรักษาด้วยวิธีอื่นยังได้ผลเหมือนเดิม
ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517919269826402
สธ.จับมือ 4 สภาวิชาชีพพัฒนา “หมอพร้อม” สู่ Digital Health Platform ปรับโฉมบริการสุขภาพให้ทันสมัย เข้าถึงและเท่าทันต่อความต้องการของประชาชน
ดร.สาธิต ปิตุเตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข พร้อมคณะ ร่วมแถลงข่าว “ความร่วมมือการพัฒนาหมอพร้อม Digital Health Platform” กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ 4 สภาวิชาชีพด้านสุขภาพ พัฒนาระบบ “หมอพร้อม” สู่ Digital Health Platform ของประเทศไทย เชื่อมโยงโรงพยาบาลรัฐ เอกชน คลินิกเวชกรรม ทันตกรรม เทคนิคการแพทย์ ร้านยา และ รพ.สต. เข้าสู่ระบบบริการสุขภาพดิจิทัล ให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลสุขภาพตนเองและบริการที่รวดเร็วปลอดภัย
กระทรวงสาธารณสุขมีแนวคิดเชื่อมโยงระบบการให้บริการสุขภาพต่างๆ ของโรงพยาบาลรัฐ โรงพยาบาลเอกชน คลินิกเวชกรรม คลินิกทันตกรรม ร้านขายยา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ผ่านไลน์และแอปพลิเคชันหมอพร้อม เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลสุขภาพของตนเองและเข้าถึงบริการสุขภาพที่สะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย โดยเปิดระบบ “หมอพร้อม Station” ให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกสังกัดใช้งานหมอพร้อม Digital Health Platform ในการให้บริการสุขภาพแก่ประชาชนแล้ว บริการที่เปิดใช้งาน ได้แก่ Telemedicine ให้คำปรึกษาทางการแพทย์และติดตามการรักษาพยาบาล, Telepharmacy ให้คำปรึกษา ติดตามการใช้ยาและผลข้างเคียง, Telemedical Lab บริการด้านเทคนิคการแพทย์ รายงานผลการแปลผลทดสอบ และให้คำปรึกษาก่อนและหลังการตรวจ นำร่องด้วยการตรวจหาเชื้อโควิด 19 ด้วย ATK ผ่านการใช้ Video Call เพื่อให้คำแนะนำการใช้ชุดตรวจอย่างถูกต้อง การบันทึกผลตรวจโควิดด้วยชุดตรวจ ATK หรือ RT-PCR, ระบบแจ้งเตือน แจ้งนัดหมาย และส่งข่าวสารประชาสัมพันธ์ถึงประชาชน และการเชื่อมระบบ Logistics สำหรับการขนส่งยา จากโรงพยาบาล หรือคลินิก ไปถึงบ้านของประชาชน
ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517923563159306
รายละเอียดผู้เสียชีวิตของประเทศไทย
วันอังคารที่ 8 มีนาคม 2565 จำนวน 69 ราย
แหล่งข้อมูล : กระทรวงสาธารณสุข
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517938416491154
สถานการณ์โควิดต่างประเทศ
• สิงคโปร์ : ตั้งเป้าเพิ่มจำนวนผู้โดยสารทางอากาศให้ได้ร้อยละ 50
ของจำนวนผู้โดยสารช่วงก่อนวิกฤต COVID ภายในปี 65
จากปัจจุบันที่มีจำนวนผู้โดยสารร้อยละ 15
• เวียดนาม : ตรวจพบผู้ติดเชื้อ COVID รายใหม่ 142,136 ราย
สูงที่สุดตั้งแต่เกิดการแพร่ระบาดของโรค COVID
ที่มา : สำนักข่าวกรองแห่งชาติ
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517929966491999
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
แยก 3 อาการผู้ป่วยโควิด
สายด่วนกรมอนามัย 0 2590 4111
ให้บริการทุกวัน เวลา 07.30 - 20.30 น
ที่มา : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517941016490894
ไทย-มาเลเซีย เปิดช่องทางพิเศษ ผู้เดินทางฉีดวัคซีนครบ ไม่ต้องกักตัว เริ่มกลางเดือนนี้
นายธนกร วังบุญคงชนะ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ยินดีหลังรับทราบการรายงานว่า การเปิดช่องทางพิเศษแบบ Vaccinated Travel Lane (VTL) ระหว่างไทยและมาเลเซีย จะเริ่มแล้วอย่างเป็นรูปธรรมในกลางเดือนมีนาคมนี้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำลังเร่งหารือเกี่ยวกับวิธีการเพื่อเปิดช่องทางเดินทางพิเศษระหว่างไทยและมาเลเซียสำหรับผู้ที่ฉีดวัคซีนครบแล้วโดยไม่ต้องกักกันโรคแบบ Vaccinated Travel Lane (VTL) ซึ่งทั้งสองฝ่ายตอบรับในการหารือกันอย่างดี
สำหรับการเดินทางทางอากาศ คาดว่าเที่ยวบิน และเส้นทางที่จะใช้สำหรับ VTL ซึ่งสายการบินที่กำหนดจากทั้งสองประเทศอาจจะได้รับอนุญาตให้ขึ้นบินสูงสุดถึง 6 เที่ยวบินต่อวันในเส้นทางกัวลาลัมเปอร์-กรุงเทพฯ และสูงสุด 4 เที่ยวบินต่อวันสำหรับเส้นทางกัวลาลัมเปอร์-ภูเก็ต ในขณะที่เส้นทางเพิ่มเติมอาจเพิ่มได้ตามรายละเอียดของข้อตกลงร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ทั้งนี้ มาตรการเดินทางเข้ามาเลเซียทางอากาศ น่าจะคล้ายกับมาตรการ VTL ที่มาเลเซียทำกับสิงคโปร์ ซึ่งได้กำหนดว่าผู้เดินทางที่เข้าประเทศมาเลเซียจะต้องทำการทดสอบ RT-PCR สำหรับ Covid 2 วันก่อนออกเดินทาง และอีกครั้งหนึ่งเมื่อเดินทางถึง จึงจะได้เข้าประเทศโดยไม่มีการกักกัน
ที่มา : โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517951976489798
โรงพยาบาลราชวิถี เปิดให้ "ลงทะเบียน" จองฉีดวัคซีน Pfizer
เข็มที่ 1 สำหรับ "เด็ก" ที่มีอายุ 5-11 ปี และเด็กที่มีโรคประจำตัว 7 กลุ่มโรค
และเข็มกระตุ้น
หมายเหตุ : ข้อมูลกลุ่มโรคอ้างอิงตามฐานข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข
สามารถลงทะเบียนได้ตั้งแต่วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2565 เป็นต้นไป
• ลงทะเบียนเข็มที่ 1 คลิก https://bit.ly/3pM1sHQ
• ลงทะเบียนเข็มกระตุ้น คลิก https://bit.ly/3s9n1Fj
ที่มา : โรงพยาบาลราชวิถี
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517962823155380
เร่งสร้างเสริมภูมิคุ้มกันแก่หญิงตั้งครรภ์
• เร่งฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุกแก่หญิงตั้งครรภ์
• กรณีที่ยังไม่สมัครใจฉีดวัคซีน ขอให้ฉีดบุคคลในครอบครัวให้ครบก่อน
• กรณีฉีดเข็มที่ 1 ให้หญิงตั้งครรภ์ สามารถรับการฉีดวัคซีนได้ทุกอายุครรภ์ และสามารถให้พร้อมกับวัคซีนอื่น ๆ ที่จำเป็นในขณะตั้งครรภ์ได้
• หญิงที่มาคลอดและยังไม่เคยได้รับวัคซีน ให้ฉีดวัคซีนโควิด-19 ก่อนกลับบ้าน
ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
https://web.facebook.com/informationcovid19/posts/518047223146940
คนกลุ่มใดบ้าง ? ที่รับเชื้อ Omicron แล้วเสี่ยงป่วยหนัก
ที่มา : หมอพร้อม
https://web.facebook.com/informationcovid19/posts/518049346480061
https://www.facebook.com/fanmoph/videos/699991421185045/ (มีคลิป)
แถลงความคืบหน้าสถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ณ กระทรวงสาธารณสุข
8 มีนาคม 2565
ยกระดับ “หมอพร้อม” มุ่งดูแลสุขภาพของคนไทย ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ควบคู่ไปกับการคุ้มครองข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคล และคุณภาพตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ ด้วยการผนึกกำลังกันของ 4 หน่วยงาน ได้แก่ แพทยสภา ทันตแพทยสภา สภาเภสัชกรรม และสภาเทคนิคการแพทย์ เพื่อเป็น Digital Health Platform ของประเทศ
https://www.facebook.com/ThaigovSpokesman/posts/329170825912322 (มีคลิป)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
รวมสไลด์แถลงสถานการณ์โควิด-19 จาก ศบค.
วันอังคารที่ 8 มีนาคม 2565
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517931326491863
จำนวนการได้รับวัคซีนสะสม (28 ก.พ. 2564 - 7 มี.ค. 2565)
รวม 125,036,572 โดส ใน 77 จังหวัด
ภาพรวมยอดฉีดวัคซีน วันที่ 7 มีนาคม 2565
ยอดฉีดทั่วประเทศ 120,488 โดส
เข็มที่ 1 : 35,115 ราย
เข็มที่ 2 : 13,535 ราย
เข็มที่ 3 : 71,838 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 1 สะสม : 53,983,869 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 2 สะสม : 49,878,379 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 3 สะสม : 21,174,324 ราย
แหล่งข้อมูล : MOPH-IC
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517914673160195
ผู้ป่วยโควิดในไทย พบเป็น Omicron “ BA.2 ” เกินครึ่ง
แพร่เร็วกว่า “ BA.1 ” 1.4 เท่า แต่ความรุนแรงไม่ต่างกัน
นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และนพ.บัลลังก์ อุปพงษ์ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ แถลงข่าวการเฝ้าระวังสายพันธุ์โควิด 19 ในประเทศไทย โดย นพ.ศุภกิจกล่าวว่า จากการสุ่มตรวจสายพันธุ์ตัวอย่างเชื้อโควิด 19 ตั้งแต่วันที่ 26 กุมภาพันธ์ - 4 มีนาคม 2565 จำนวน 1,905 ราย พบสายพันธุ์เดลตาเพียง 7 ราย ที่เหลือเป็นสายพันธุ์โอมิครอน คิดเป็น 99.63% และจากการตรวจสายพันธุ์ย่อยรวม 1,802 ตัวอย่าง พบเป็นสายพันธุ์ย่อย BA.2 ถึง 51.8% แสดงว่า BA.2 แพร่เร็วกว่า BA.1 ซึ่งมีข้อมูลว่าแพร่เร็วกว่า 1.4 เท่า ขณะที่การแพร่ในครัวเรือน BA.2 อยู่ที่ 39% ส่วน BA.1 อยู่ที่ 29% หรือแพร่เร็วกว่า 10% ดังนั้น สัปดาห์ถัดไปอาจจะพบ BA.2 สูงขึ้นและอาจมาแทน BA.1 ได้ อย่างไรก็ตาม พบว่าความรุนแรงไม่แตกต่างกัน โดยพบว่า BA.2 ดื้อต่อวัคซีนเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ยา “โมโนโคลนอลแอนติบอดี” หรือยาจากภูมิคุ้มกันที่ใช้รักษาผู้ติดเชื้อสายพันธุ์เดลตาและ BA.1 ได้ จะไม่ค่อยได้ผลใน BA.2 แต่ยังไม่กระทบกับวิธีรักษา เนื่องจากโอมิครอนส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง การรักษาด้วยวิธีอื่นยังได้ผลเหมือนเดิม
ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517919269826402
สธ.จับมือ 4 สภาวิชาชีพพัฒนา “หมอพร้อม” สู่ Digital Health Platform ปรับโฉมบริการสุขภาพให้ทันสมัย เข้าถึงและเท่าทันต่อความต้องการของประชาชน
ดร.สาธิต ปิตุเตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข พร้อมคณะ ร่วมแถลงข่าว “ความร่วมมือการพัฒนาหมอพร้อม Digital Health Platform” กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ 4 สภาวิชาชีพด้านสุขภาพ พัฒนาระบบ “หมอพร้อม” สู่ Digital Health Platform ของประเทศไทย เชื่อมโยงโรงพยาบาลรัฐ เอกชน คลินิกเวชกรรม ทันตกรรม เทคนิคการแพทย์ ร้านยา และ รพ.สต. เข้าสู่ระบบบริการสุขภาพดิจิทัล ให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลสุขภาพตนเองและบริการที่รวดเร็วปลอดภัย
กระทรวงสาธารณสุขมีแนวคิดเชื่อมโยงระบบการให้บริการสุขภาพต่างๆ ของโรงพยาบาลรัฐ โรงพยาบาลเอกชน คลินิกเวชกรรม คลินิกทันตกรรม ร้านขายยา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ผ่านไลน์และแอปพลิเคชันหมอพร้อม เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลสุขภาพของตนเองและเข้าถึงบริการสุขภาพที่สะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย โดยเปิดระบบ “หมอพร้อม Station” ให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกสังกัดใช้งานหมอพร้อม Digital Health Platform ในการให้บริการสุขภาพแก่ประชาชนแล้ว บริการที่เปิดใช้งาน ได้แก่ Telemedicine ให้คำปรึกษาทางการแพทย์และติดตามการรักษาพยาบาล, Telepharmacy ให้คำปรึกษา ติดตามการใช้ยาและผลข้างเคียง, Telemedical Lab บริการด้านเทคนิคการแพทย์ รายงานผลการแปลผลทดสอบ และให้คำปรึกษาก่อนและหลังการตรวจ นำร่องด้วยการตรวจหาเชื้อโควิด 19 ด้วย ATK ผ่านการใช้ Video Call เพื่อให้คำแนะนำการใช้ชุดตรวจอย่างถูกต้อง การบันทึกผลตรวจโควิดด้วยชุดตรวจ ATK หรือ RT-PCR, ระบบแจ้งเตือน แจ้งนัดหมาย และส่งข่าวสารประชาสัมพันธ์ถึงประชาชน และการเชื่อมระบบ Logistics สำหรับการขนส่งยา จากโรงพยาบาล หรือคลินิก ไปถึงบ้านของประชาชน
ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517923563159306
รายละเอียดผู้เสียชีวิตของประเทศไทย
วันอังคารที่ 8 มีนาคม 2565 จำนวน 69 ราย
แหล่งข้อมูล : กระทรวงสาธารณสุข
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517938416491154
สถานการณ์โควิดต่างประเทศ
• สิงคโปร์ : ตั้งเป้าเพิ่มจำนวนผู้โดยสารทางอากาศให้ได้ร้อยละ 50
ของจำนวนผู้โดยสารช่วงก่อนวิกฤต COVID ภายในปี 65
จากปัจจุบันที่มีจำนวนผู้โดยสารร้อยละ 15
• เวียดนาม : ตรวจพบผู้ติดเชื้อ COVID รายใหม่ 142,136 ราย
สูงที่สุดตั้งแต่เกิดการแพร่ระบาดของโรค COVID
ที่มา : สำนักข่าวกรองแห่งชาติ
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517929966491999
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
แยก 3 อาการผู้ป่วยโควิด
สายด่วนกรมอนามัย 0 2590 4111
ให้บริการทุกวัน เวลา 07.30 - 20.30 น
ที่มา : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517941016490894
ไทย-มาเลเซีย เปิดช่องทางพิเศษ ผู้เดินทางฉีดวัคซีนครบ ไม่ต้องกักตัว เริ่มกลางเดือนนี้
นายธนกร วังบุญคงชนะ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ยินดีหลังรับทราบการรายงานว่า การเปิดช่องทางพิเศษแบบ Vaccinated Travel Lane (VTL) ระหว่างไทยและมาเลเซีย จะเริ่มแล้วอย่างเป็นรูปธรรมในกลางเดือนมีนาคมนี้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำลังเร่งหารือเกี่ยวกับวิธีการเพื่อเปิดช่องทางเดินทางพิเศษระหว่างไทยและมาเลเซียสำหรับผู้ที่ฉีดวัคซีนครบแล้วโดยไม่ต้องกักกันโรคแบบ Vaccinated Travel Lane (VTL) ซึ่งทั้งสองฝ่ายตอบรับในการหารือกันอย่างดี
สำหรับการเดินทางทางอากาศ คาดว่าเที่ยวบิน และเส้นทางที่จะใช้สำหรับ VTL ซึ่งสายการบินที่กำหนดจากทั้งสองประเทศอาจจะได้รับอนุญาตให้ขึ้นบินสูงสุดถึง 6 เที่ยวบินต่อวันในเส้นทางกัวลาลัมเปอร์-กรุงเทพฯ และสูงสุด 4 เที่ยวบินต่อวันสำหรับเส้นทางกัวลาลัมเปอร์-ภูเก็ต ในขณะที่เส้นทางเพิ่มเติมอาจเพิ่มได้ตามรายละเอียดของข้อตกลงร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ทั้งนี้ มาตรการเดินทางเข้ามาเลเซียทางอากาศ น่าจะคล้ายกับมาตรการ VTL ที่มาเลเซียทำกับสิงคโปร์ ซึ่งได้กำหนดว่าผู้เดินทางที่เข้าประเทศมาเลเซียจะต้องทำการทดสอบ RT-PCR สำหรับ Covid 2 วันก่อนออกเดินทาง และอีกครั้งหนึ่งเมื่อเดินทางถึง จึงจะได้เข้าประเทศโดยไม่มีการกักกัน
ที่มา : โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517951976489798
โรงพยาบาลราชวิถี เปิดให้ "ลงทะเบียน" จองฉีดวัคซีน Pfizer
เข็มที่ 1 สำหรับ "เด็ก" ที่มีอายุ 5-11 ปี และเด็กที่มีโรคประจำตัว 7 กลุ่มโรค
และเข็มกระตุ้น
หมายเหตุ : ข้อมูลกลุ่มโรคอ้างอิงตามฐานข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข
สามารถลงทะเบียนได้ตั้งแต่วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2565 เป็นต้นไป
• ลงทะเบียนเข็มที่ 1 คลิก https://bit.ly/3pM1sHQ
• ลงทะเบียนเข็มกระตุ้น คลิก https://bit.ly/3s9n1Fj
ที่มา : โรงพยาบาลราชวิถี
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/517962823155380
เร่งสร้างเสริมภูมิคุ้มกันแก่หญิงตั้งครรภ์
• เร่งฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุกแก่หญิงตั้งครรภ์
• กรณีที่ยังไม่สมัครใจฉีดวัคซีน ขอให้ฉีดบุคคลในครอบครัวให้ครบก่อน
• กรณีฉีดเข็มที่ 1 ให้หญิงตั้งครรภ์ สามารถรับการฉีดวัคซีนได้ทุกอายุครรภ์ และสามารถให้พร้อมกับวัคซีนอื่น ๆ ที่จำเป็นในขณะตั้งครรภ์ได้
• หญิงที่มาคลอดและยังไม่เคยได้รับวัคซีน ให้ฉีดวัคซีนโควิด-19 ก่อนกลับบ้าน
ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
https://web.facebook.com/informationcovid19/posts/518047223146940
คนกลุ่มใดบ้าง ? ที่รับเชื้อ Omicron แล้วเสี่ยงป่วยหนัก
ที่มา : หมอพร้อม
https://web.facebook.com/informationcovid19/posts/518049346480061
แสดงความคิดเห็น
🇹🇭💖มาลาริน/8มีค.ไทยไม่ติดTop10โลก/ป่วย18,943คน หายป่วย25,005คน ตาย69คน/เกณฑ์ใหม่“UCEP"/ยอดตายเป็นไปตามสัดส่วนป่วยมาก
https://www.sanook.com/news/8528398/
https://www.bangkokbiznews.com/social/992326
สธ. ยันตัวเลขผู้ป่วยโควิดดับพุ่ง ไม่ใช่ 'ก้าวกระโดด' แต่เป็นไปตามสัดส่วน ต้องรีบฉีดเข็ม 3
7 มีนาคม 2565 เวลา 15:31 น.
7 มี.ค.2565 - ที่กระทรวงสาธารณสุข นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ แถลงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ว่า ข้อมูลในปัจจุบันสายพันธุ์โอมิครอนครองโลกเป็นส่วนใหญ่แล้ว โดยโอมิครอน สายพันธุ์ BA.1 ยังเป็นสายพันธุ์หลัก และมี BA.1.1 สายพันธุ์ลูกซึ่งมีการกลายพันธุ์ เจอค่อนข้างมาก ส่วน BA.2 พบแสนกว่า ส่วน BA.3 มีน้อยมาก
สำหรับในประเทศไทยที่มีการเฝ้าระวังช่วงสัปดาห์ที่แล้ว ตรวจ 1,900 ราย พบว่าสายพันธุ์ อัลฟ่า (อังกฤษ) เบต้า แอฟริกาใต้ แกรมม่า ไม่พบแล้ว มีเดลต้า (อินเดีย) 7 ราย ที่เหลือโอมิครอนทั้งหมดโดยแชร์ส่วนแบ่งในตลาดแล้ว 99.6% มีอยู่ในทุกจังหวัด
ส่วนในคนที่เดินทางมาจากต่างประเทศ ก็พบเป็นโอมิครอน ทั้งนี้ พบ โอมิครอนBA.1 และ BA.2 สัดส่วน พบในภาพรวม BA.2 พบ 52% ที่เหลือเป็น BA.1 โดยพบ BA. 2 แพร่เร็วกว่า ค่อยๆ เบียด สัปดาห์ต่อไปจะเพิ่มขึ้นเรื่อย สักพักจะแทน BA. 1 รวมทั้งต้องเฝ้าระวังว่าจะมี BA อื่นอีกหรือไม่
นพ.ศุภกิจกล่าวว่า มีคำถามว่าถ้าแพร่เร็วแสดงว่า มีเคสเพิ่มขึ้น แพร่เชื้อเร็วจาก BA. 2 ซึ่งองค์การอนามัยโลกยังไม่มีข้อมูลเพียงพอเรื่องการแพร่เร็ว ส่วนความรุนแรงยังไม่มีความแตกต่างจาก BA.1 ที่สำคัญ โดยพบมีการแพร่เร็วกว่า 1.4 เท่า ถ้าติดในครัวเรือน จะแพร่กระจายได้สูงกว่า BA.1 เทียบ 39% ต่อ 29% โดย BA.2 แพร่เร็วกว่า 10% ในส่วนวัคซีนพบ BA.2 ดื้อต่อวัคซีนเพิ่มขึ้นเล็กน้อย แต่ยังไม่มีนัยยะสำคัญทางสถิติ โอมิครอน BA. 1 และ BA.2 ต่างกันไม่มากจากงานวิจัย แต่ที่พบสำคัญคือ ในเรื่องยาป้องกัน จากที่เคยรักษา BA. 1, เดลต้า ได้มารักษา BA. 2 ไม่ได้ จากที่ใช้ยาราคาแพงจัดการเชื้อได้ พอมาเจอสายพันธ์ BA. 2 จัดการไม่ได้ แม้จะเสียเงินแพงแค่ไหนก็การรักษาแทบไม่ต่างกัน
โดยสรุปพบโอมิครอน BA.2 ในสัดส่วนที่เพิ่มมากขึ้น ขณะที่ตัวเลขผู้เสียชีวิตไม่ได้เป็นการก้าวกระโดด แต่เป็นตามสัดส่วนที่พบผู้ติดเชื้อ
เมื่อถามว่าสายพันธุ์ BA.1 และ BA.2 จะมีความรุนแรงต่อกลุ่มเสี่ยงหรือไม่อย่างไร นพ.ศุภกิจกล่าวว่า ข้อมูลในปัจจุบันยังไม่พบรุนแรง พบเมื่อติดเชื้อเร็ว จะมีคนรับติดเชื้อได้มากขึ้น เป็น 39 เปอร์เซ็นต์ต่อ 29 ปอร์เซ็นต์ ในคนสูงอายุ 2 เข็มช่วยได้ไม่มาก ในเรื่องความรุนแรง แต่ให้ชัวร์ ต้องเข็ม 3 พบว่าวันนี้ผู้ที่เสียชีวิตยังไม่ได้ฉีดวัคซีน หรือฉีดไม่เพียงพอ มีติดเตียงที่บ้าน และยิ่งในช่วงสงกรานต์ที่จะมีการกลับบ้าน อาจจะเอาโอมิครอนไปฝากได้ ที่ใดที่ยังไม่ได้ฉีดวัคซีนหรือ 2 เข็ม ต้องรีบ
ส่วนคำถามที่ว่าวัคซีน ที่ใช้ในไทย จะมีผลต่อสายพันธุ์ย่อยที่พบ BA. 1 และ BA.2 ไม่แตกต่าง วัคซีนทุกยี่ห้อ เมื่อฉีดระยะหนึ่ง ภูมิจะลดลงแน่ เข็มกระตุ้นจึงจำเป็นในขณะนี้
ด้านนพ.บัลลังก์ อุปพงษ์ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์กล่าวว่า การตรวจหาสายพันธุ์ในปัจจุบัน ย้ำในไทยยังไม่พบ สายพันธุ์โอมิครอน BA.3 จึงยังไม่ต้องกังวล ยังไม่พบสายพันธุ์ใหม่ โอมิครอนยังเป็นสายพันธุ์สุดท้ายที่พบในขณะนี้
https://www.thaipost.net/covid-19-news/99158/
ติดตามข่าวโควิดวันนี้ค่ะ
ข่าวดีคือ...ผู้หายปวยมีมากกว่าผู้ป่วยใหม่ ผู้ป่วยใหม่ไม่ถึงสองหมื่นคน
ข่าวที่อาจไม่สบายใจคือผู้เสียชีวิตมีมากขึ้น แต่สธ.บอกว่าเป็นไปตามจำนวนผู้ติดเชื้อที่มากขึ้น
.......