โลกของเทวดาคราวเดียว บาลีโคก

สกทาคามี โหติ สกิเทว อิมํ โลกํ อาคนฺตฺวา

คำแปลตามความเห็น ที่ปรากฏในเอกสารประกอบคำบรรยายเป็นดังนี้
สกทาคามี = ผู้มาถึงคราวเดียว
โหติ = มี, เป็น
สกิเทว = เทวดาคราวเดียว
อิมํ = นี้
โลกํ = โลก (มนุษย์บ้าง เทวดาบ้าง พรหมบ้าง)
อาคนฺตฺวา = ผู้มาเยือน
สกทาคามี ผู้มาถึงคราวเดียว
โหติ มีหรือเป็น
แต่คราวเดียวนี่ คือโลกไหน
อิมํ นี้
โลกํ โลก
โลกก็ยังเป็นข้อสงสัย
อาคนฺตฺวา แปลว่า ผู้มาเยือน
สกิเทว มันแยกเป็น ๒ คำ
สกิ สกึ แปลว่า หนเดียว คราวเดียว
เทว คือเทวดา แปลอย่างอื่นไม่ได้
สกิเทว จึงแปลว่า เทวดาคราวเดียว
แต่คำนี้ไม่ได้ถูกแปลเข้าไว้ ถ้าถูกใส่เข้าไว้พระสูตรก็จะไม่ขัดกัน สอดรับกันทั้งหมด คือมาถึงโลกนี้คราวเดียว คือโลกอะไร 
เทวดาคราวเดียว ผู้มาเยือนโลกนี้ คือเทวดาคราวเดียว ก็คือเป็นผู้มาถึงคราวเดียว เทวดา ไม่ใช่โลกมนุษย์  เพราะฉะนั้น อันนี้ก็ผิดกันทั่วประเทศเหมือนกัน เพราะตำรามันเป็นอรรถกถาทั้งหมด  นี่มันเป็นปัญหาอย่างนี้

ที่มา. http://watnaprapong.blogspot.com/2014/11/blog-post_71.html?m=1
อมยิ้ม33

อุตส่าห์เหยียบหัวอรรถกถาเพื่อยืนเหนืออรรถกถา แล้วชี้มาว่า อรรถกถาผิด แปลผิดกันทั่วประเทศ  ข้าพเจ้าว่าท่านน่าจะพูดว่า แปลผิดกันทั่วโลกมากกว่า
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่