ด้วยเหตุที่ท่านผูกคำว่า สกิเทว ไว้แล้วว่า เทวดาคราวเดียว ท่านจึงต้องแปล โลกํ (โลกัง) ให้หมายถึงโลกเทวดา โดยท่านไม่ได้ศึกษาปริบทของพระพุทธวจนะเลย
คลิกอ่าน.
http://watnaprapong.blogspot.com/2014/11/blog-post_71.html?m=1
ในจูฬโคปาลสูตร พระพุทธเจ้าตรัสอย่างนี้
เป็นพระสกทาคามีเพราะสังโยชน์ ๓ หมดสิ้นไป และเพราะราคะ โทสะ และโมหะเบาบาง มาสู่โลกนี้อีกคราวเดียวเท่านั้น แล้วจักทำที่สุดแห่งทุกข์ได้
คำว่า “โลกนี้” อิมํ โลกํ ถ้าจะตีความว่าโลกไหน จะต้องดูปริบทของพระสูตรนั้นว่าพระพุทธเจ้าตรัสที่ไหน ซึ่งต้องอาศัยคำพระอานนท์เป็นผู้เล่าเรื่องราว ด้วยท่านคึกฤทธิ์ มีความเห็นว่า คำพระอานนท์ไม่สำคัญ จึงตัดคำพระอานนท์ออกไป ไม่ใส่ใจว่า พระอานนท์เล่าเรื่องราวนิทานท้องเรื่องไว้ว่าอย่างไร (คำว่านิทาน ไม่ได้แปลว่าเรื่องแต่งขึ้น แต่แปลว่า ต้นเหตุ มูลเหตุ ที่ไปที่มา) ...
เหตุผูกคำว่า สกิเทว เทวดาคราวเดียว จึงต้องแปล (โลกัง) ให้หมายถึงโลกเทวดา 😁บาลีโคก😁
คลิกอ่าน. http://watnaprapong.blogspot.com/2014/11/blog-post_71.html?m=1
ในจูฬโคปาลสูตร พระพุทธเจ้าตรัสอย่างนี้
เป็นพระสกทาคามีเพราะสังโยชน์ ๓ หมดสิ้นไป และเพราะราคะ โทสะ และโมหะเบาบาง มาสู่โลกนี้อีกคราวเดียวเท่านั้น แล้วจักทำที่สุดแห่งทุกข์ได้
คำว่า “โลกนี้” อิมํ โลกํ ถ้าจะตีความว่าโลกไหน จะต้องดูปริบทของพระสูตรนั้นว่าพระพุทธเจ้าตรัสที่ไหน ซึ่งต้องอาศัยคำพระอานนท์เป็นผู้เล่าเรื่องราว ด้วยท่านคึกฤทธิ์ มีความเห็นว่า คำพระอานนท์ไม่สำคัญ จึงตัดคำพระอานนท์ออกไป ไม่ใส่ใจว่า พระอานนท์เล่าเรื่องราวนิทานท้องเรื่องไว้ว่าอย่างไร (คำว่านิทาน ไม่ได้แปลว่าเรื่องแต่งขึ้น แต่แปลว่า ต้นเหตุ มูลเหตุ ที่ไปที่มา) ...