ขันธ์๕..เรียกว่า " ตน "..แต่เป็น.." สิ่งที่..ไม่ใช่ตน(อนัตตา) "
อธิปไตยสูตร👉👉
https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=20&A=3827&Z=3899
[๔๗๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อธิปไตย ๓ อย่างนี้ ๓ อย่างเป็นไฉน คือ
อัตตาธิปไตย ๑
โลกาธิปไตย ๑
ธรรมาธิปไตย ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อัตตาธิปไตยเป็นไฉน?
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ อยู่ในป่าก็ดี อยู่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนว่างก็ดี ย่อม
สำเหนียกดังนี้ว่า
- ก็เราออกบวชเป็นบรรพชิต
.....ไม่ใช่เพราะเหตุแห่งจีวร
- ไม่ใช่เพราะเหตุแห่งบิณฑบาต
- ไม่ใช่เพราะเหตุแห่งเสนาสนะ
- เราออกบวชเป็นบรรพชิต....ไม่ใช่เพราะเหตุแห่งความมีและความไม่มีเช่นนั้น
ก็แต่ว่า เราเป็นผู้อันชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์โทมนัสอุปายาส ครอบงำแล้ว
ชื่อว่าเป็นผู้มีทุกข์ครอบงำแล้ว มีทุกข์ท่วมทับแล้ว ไฉนการทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้จะพึงปรากฏ
ก็การที่เราจะพึงแสวงหากามที่ละได้แล้วออกบวชเป็นบรรพชิตนั้น เป็นความเลวทรามอย่างยิ่ง
ข้อนั้นไม่เป็นการสมควรแก่เราเลย
เธอย่อมสำเหนียกว่าก็ความเพียรที่ปรารภแล้ว
- จักไม่ย่อหย่อนสติที่เข้าไปตั้งมั่นแล้วจะไม่หลงลืม
- กายที่สงบระงับแล้วจักไม่ระส่ำระสาย
- จิตที่เป็นสมาธิแล้วจักมีอารมณ์แน่วแน่ ดังนี้
โส
อตฺตานํเยว อาธิปเตยฺยํ กริตฺวา อกุสลํ ปชหติ กุสลํ ภาเวติ สาวชฺชํ ปชหติ อนวชฺชํ ภาเวติ
สุทฺธํ
อตฺตานํ ปริหรติ
เธอทำตนเองแลให้เป็นใหญ่ แล้วละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมที่มีโทษ เจริญกรรมที่ไม่มีโทษ
บริหารตนให้บริสุทธิ์
อิทํ วุจฺจติ ภิกฺขเว อตฺตาธิปเตยฺยํ ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่าอัตตาธิปไตย ฯ
สรุป
1. พระศาสดา " เรียก "...ขันธ์๕..นี่หละว่า " ตน - อัตตา ".....
แต่สอนว่าไอ้เจ้าสิ่งที่เรียกว่า " ตน ".,..มันไม่ใช่ตน...ไม่ใช่ของตน ไม่ใช่ตัวตนของตน
2. เราต้องแยกให้ออก โลกปุถุชนเขา " เรียก."..ขันธ์๕ ว่า " ตน - อัตตา "...
และ...เห็นว่า.." เป็น "... " ตน - อัตตา ".
3. พระศาสดา...." เรียก "...ขันธ์๕..ว่า " ตน - อัตตา " ....ตามชาวโลก..
แต่..ไม่เห็นว่า " เป็น "..." ตน - อัตตา " แล้วสั่งสอนสาวกของพระองค์ว่า
ขันธ์๕...ไม่ " เป็น "...." ตน - อัตตา "..." เป็น.." ไม่ใช่ตน - อนัตตา "
4. " เรียก "...กับ..." เป็น " <----2 คำนี้..มันไม่เหมือนกัน
คนละความหมาย..สิ่งๆหนึ่ง..อาจจะเรียกอย่างหนึ่ง..แต่เป็นก็อีกอย่างหนึ่ง
5. " เธอทำตนเองแลให้เป็นใหญ่ " <---นี่หมายถึงการเจริญ..สติปัฏฐาน๔.....และ...ขันธ์๕ = (กาย-เวทนา-จิต-ธรรม)
สับสนไหม..ครับ?
" อตฺตาธิปเตยฺย "....อัตตา..ธิปไตย...การคิดถึงตนเป็นใหญ่ <---ขันธ์๕..เรียกว่า " ตน "..แต่เป็น.." อนัตตา "
อธิปไตยสูตร👉👉https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=20&A=3827&Z=3899
[๔๗๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อธิปไตย ๓ อย่างนี้ ๓ อย่างเป็นไฉน คือ
อัตตาธิปไตย ๑
โลกาธิปไตย ๑
ธรรมาธิปไตย ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อัตตาธิปไตยเป็นไฉน?
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ อยู่ในป่าก็ดี อยู่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนว่างก็ดี ย่อม
สำเหนียกดังนี้ว่า
- ก็เราออกบวชเป็นบรรพชิต.....ไม่ใช่เพราะเหตุแห่งจีวร
- ไม่ใช่เพราะเหตุแห่งบิณฑบาต
- ไม่ใช่เพราะเหตุแห่งเสนาสนะ
- เราออกบวชเป็นบรรพชิต....ไม่ใช่เพราะเหตุแห่งความมีและความไม่มีเช่นนั้น
ก็แต่ว่า เราเป็นผู้อันชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์โทมนัสอุปายาส ครอบงำแล้ว
ชื่อว่าเป็นผู้มีทุกข์ครอบงำแล้ว มีทุกข์ท่วมทับแล้ว ไฉนการทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้จะพึงปรากฏ
ก็การที่เราจะพึงแสวงหากามที่ละได้แล้วออกบวชเป็นบรรพชิตนั้น เป็นความเลวทรามอย่างยิ่ง
ข้อนั้นไม่เป็นการสมควรแก่เราเลย
เธอย่อมสำเหนียกว่าก็ความเพียรที่ปรารภแล้ว
- จักไม่ย่อหย่อนสติที่เข้าไปตั้งมั่นแล้วจะไม่หลงลืม
- กายที่สงบระงับแล้วจักไม่ระส่ำระสาย
- จิตที่เป็นสมาธิแล้วจักมีอารมณ์แน่วแน่ ดังนี้
โส อตฺตานํเยว อาธิปเตยฺยํ กริตฺวา อกุสลํ ปชหติ กุสลํ ภาเวติ สาวชฺชํ ปชหติ อนวชฺชํ ภาเวติ
สุทฺธํ อตฺตานํ ปริหรติ
เธอทำตนเองแลให้เป็นใหญ่ แล้วละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมที่มีโทษ เจริญกรรมที่ไม่มีโทษ
บริหารตนให้บริสุทธิ์
อิทํ วุจฺจติ ภิกฺขเว อตฺตาธิปเตยฺยํ ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่าอัตตาธิปไตย ฯ
สรุป
1. พระศาสดา " เรียก "...ขันธ์๕..นี่หละว่า " ตน - อัตตา ".....
แต่สอนว่าไอ้เจ้าสิ่งที่เรียกว่า " ตน ".,..มันไม่ใช่ตน...ไม่ใช่ของตน ไม่ใช่ตัวตนของตน
2. เราต้องแยกให้ออก โลกปุถุชนเขา " เรียก."..ขันธ์๕ ว่า " ตน - อัตตา "...
และ...เห็นว่า.." เป็น "... " ตน - อัตตา ".
3. พระศาสดา...." เรียก "...ขันธ์๕..ว่า " ตน - อัตตา " ....ตามชาวโลก..
แต่..ไม่เห็นว่า " เป็น "..." ตน - อัตตา " แล้วสั่งสอนสาวกของพระองค์ว่า
ขันธ์๕...ไม่ " เป็น "...." ตน - อัตตา "..." เป็น.." ไม่ใช่ตน - อนัตตา "
4. " เรียก "...กับ..." เป็น " <----2 คำนี้..มันไม่เหมือนกัน
คนละความหมาย..สิ่งๆหนึ่ง..อาจจะเรียกอย่างหนึ่ง..แต่เป็นก็อีกอย่างหนึ่ง
5. " เธอทำตนเองแลให้เป็นใหญ่ " <---นี่หมายถึงการเจริญ..สติปัฏฐาน๔.....และ...ขันธ์๕ = (กาย-เวทนา-จิต-ธรรม)
สับสนไหม..ครับ?