ไขคำตอบ"หนี้ (สาธารณะ) ท่วมหัว…ไทยยังเอาตัวรอดหรือไม่"
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้https://www.thansettakij.com/money_market/496627?fbclid=IwAR3_qReYxjLsPUmd2VXmIn-nTOss4k8uzagpMi7Wnb3fCLs9ZXfBA2Xt0bE
บทความดีๆ ยาวหน่อยแต่อ่านเถอะ จะเข้าใจ
แต่ส่วนนึงที่เรามองว่า ประเทศที่มีหนี้มาก ไม่ได้ทำให้มีปัญหา
เพราะช่วง 1x ปีที่ผ่านมา เกิดการเปลี่ยนแปลงแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
จากแต่ก่อนที่เราเรียนตำราอีคอนของพี่หรั่งมา หนี้มากไม่ดี มีปัญหา ทำให้เกิดตยก.ของบ้านเรา
ด้วยการที่พี่กันเริ่มใช้ qe จนหนี้ท่วม ถ้าตราบใดที่ การเติบโตยังดี ก็กู้เข้าไป เพราะถือว่า สร้างหนี้อย่างมีประทสิทธิภาพ
แล้วหวังว่า ตราบใดที่ gdp ยังโต อัตราส่วนมันก็จะดีขึ้นเอง พูดง่ายถ้าก่อหนี้แล้วสร้างเอาไปสร้างผลตอบแทนได้มากกว่าก็เอาเถอะ ทำๆไป
มันเลยกลายเป็นว่า เราอยู่ในยุคที่หนี้ท่วมกันทั้งโลก จนลืมตำราอีคอนแบบเก่าไปแล้ว
หรือก็คือ อยู่แบบ high risk, high return มากกว่าแต่ก่อน
ยิ่งโต เงินเฟ้อก็โต ค่าของเงินก็เล็กลง เมื่อค่าของเงินเล็กลง หนี้ก้อนเดิมที่เคยมองว่า เยอะ มันก็เล็กลงไปเองตามการเสื่อมค่าของเงิน
เช่น เมื่อก่อน 100 บ. อยู่ได้ทั้งวัน เดี๋ยวนี้ 100 นึง ครึ่งวันก็หมดละ
สิ่งที่จะทำให้แนวคิดนี้มีปัญหา คือ การขึ้นของดอกเบี้ย
เมื่อดอกขึ้น ต้นทุนทางการเงินก็เพิ่ม หนี้ยิ่งมาก ดอกยิ่งมากตาม
ผลคือ ต้องสร้างผลตอบแทนให้มากขึ้น มันก็ยิ่งเหนื่อยมากขึ้นไปเรื่อยๆ
ผลสุดท้ายถ้ารายได้มันโตไม่ทัน ก็ถึงวันล้มในที่สุด
ตราบใดที่การก่อหนี้แล้วยังดีอยู่ ก็ทำไป
ดังนั้นการที่เราก่อหนี้เพิ่มอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างรายได้ สร้างรากฐานทางเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน มีเสถียรภาพ ก็ไม่ได้มีปัญหาอะไร
ซึ่งก็ควรจะตั้งคำถามใหม่ดีกว่า จะก่อหนี้เพิ่ม แล้วใช้เงินนั้นไปทำอะไร มีประสิทธิภาพแค่ไหน สร้างประโยชน์ให้ประเทศ คนส่วนใหญ่จริงๆใช่มั้ย
ถ้าเอามาละเลงเละเทะ ทำแต่โครงการประชานิยม ชวนใช้จ่าย สร้าง gdp หลอกๆกลวงๆไปปีต่อปีไปเรื่อยๆ
แล้วก็เอาขยะไปซุกอยู่ใต้พรม ทำเป็นมองไม่เห็น ซักวันพอมีเหตุแบบโควิดมาอีก เราก็พังกันอีก
ถ้าฐานเราไม่ดี สุดท้ายก็ล้มครืน
1 การศึกษา
2 คอรัปชั่น
3 ยาเสพติด
ไขคำตอบ"หนี้ (สาธารณะ) ท่วมหัว…ไทยยังเอาตัวรอดหรือไม่"
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
บทความดีๆ ยาวหน่อยแต่อ่านเถอะ จะเข้าใจ
แต่ส่วนนึงที่เรามองว่า ประเทศที่มีหนี้มาก ไม่ได้ทำให้มีปัญหา
เพราะช่วง 1x ปีที่ผ่านมา เกิดการเปลี่ยนแปลงแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
จากแต่ก่อนที่เราเรียนตำราอีคอนของพี่หรั่งมา หนี้มากไม่ดี มีปัญหา ทำให้เกิดตยก.ของบ้านเรา
ด้วยการที่พี่กันเริ่มใช้ qe จนหนี้ท่วม ถ้าตราบใดที่ การเติบโตยังดี ก็กู้เข้าไป เพราะถือว่า สร้างหนี้อย่างมีประทสิทธิภาพ
แล้วหวังว่า ตราบใดที่ gdp ยังโต อัตราส่วนมันก็จะดีขึ้นเอง พูดง่ายถ้าก่อหนี้แล้วสร้างเอาไปสร้างผลตอบแทนได้มากกว่าก็เอาเถอะ ทำๆไป
มันเลยกลายเป็นว่า เราอยู่ในยุคที่หนี้ท่วมกันทั้งโลก จนลืมตำราอีคอนแบบเก่าไปแล้ว
หรือก็คือ อยู่แบบ high risk, high return มากกว่าแต่ก่อน
ยิ่งโต เงินเฟ้อก็โต ค่าของเงินก็เล็กลง เมื่อค่าของเงินเล็กลง หนี้ก้อนเดิมที่เคยมองว่า เยอะ มันก็เล็กลงไปเองตามการเสื่อมค่าของเงิน
เช่น เมื่อก่อน 100 บ. อยู่ได้ทั้งวัน เดี๋ยวนี้ 100 นึง ครึ่งวันก็หมดละ
สิ่งที่จะทำให้แนวคิดนี้มีปัญหา คือ การขึ้นของดอกเบี้ย
เมื่อดอกขึ้น ต้นทุนทางการเงินก็เพิ่ม หนี้ยิ่งมาก ดอกยิ่งมากตาม
ผลคือ ต้องสร้างผลตอบแทนให้มากขึ้น มันก็ยิ่งเหนื่อยมากขึ้นไปเรื่อยๆ
ผลสุดท้ายถ้ารายได้มันโตไม่ทัน ก็ถึงวันล้มในที่สุด
ตราบใดที่การก่อหนี้แล้วยังดีอยู่ ก็ทำไป
ดังนั้นการที่เราก่อหนี้เพิ่มอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างรายได้ สร้างรากฐานทางเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน มีเสถียรภาพ ก็ไม่ได้มีปัญหาอะไร
ซึ่งก็ควรจะตั้งคำถามใหม่ดีกว่า จะก่อหนี้เพิ่ม แล้วใช้เงินนั้นไปทำอะไร มีประสิทธิภาพแค่ไหน สร้างประโยชน์ให้ประเทศ คนส่วนใหญ่จริงๆใช่มั้ย
ถ้าเอามาละเลงเละเทะ ทำแต่โครงการประชานิยม ชวนใช้จ่าย สร้าง gdp หลอกๆกลวงๆไปปีต่อปีไปเรื่อยๆ
แล้วก็เอาขยะไปซุกอยู่ใต้พรม ทำเป็นมองไม่เห็น ซักวันพอมีเหตุแบบโควิดมาอีก เราก็พังกันอีก
ถ้าฐานเราไม่ดี สุดท้ายก็ล้มครืน
1 การศึกษา
2 คอรัปชั่น
3 ยาเสพติด