นอกจากกลุ่มผู้สูงอายุแล้ว ยังมีผู้ป่วยที่อยู่ใน 7 กลุ่มโรค ได้แก่
1.โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง
2. โรคหัวใจและหลอดเลือด
3. โรคไตวายเรื้อรัง
4. โรคหลอดเลือดสมอง
5. โรคอ้วน
6. โรคมะเร็ง
7. โรคเบาหวาน
หลายคนส่งคำถาม มาถามพี่หมอฝั่งธนว่า ....อ้วนแค่ไหนถึงจะเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคโควิดได้ง่าย
สำหรับหลักเกณฑ์ในการคำนวณ จะดูจาก ค่าดัชนีมวลกาย(BMI) ค่ะ คือ
ในผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป โดยแบ่งระดับความอ้วนไว้ 4 ระดับ ถ้ามีค่า BMI มากกว่าหรือเท่ากับ 35 ก็ถือว่ามีความเสี่ยงสูงค่ะ
เพราะคนที่เป็นโรคอ้วนชนิดรุนแรงมีความเสี่ยงในการเกิด กลุ่มอาการหายใจลำบากเฉียบพลัน (ARDS) ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญของ
โรคโควิด-19 นอกจากนี้ผู้ที่เป็นโรคอ้วนชนิดรุนแรงก็ยังมีโรคประจำตัวเรื้อรังอื่นๆ ที่ยิ่งเพิ่มความเสี่ยงของการมีอาการที่รุนแรงได้อีกด้วยค่ะ
ฉะนั้น ถ้ารู้ตัวเองว่าอ้วนอยู่และเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ก็หันมาลดน้ำหนัก เพื่อลดความเสี่ยงลงนะคะ
โรคอ้วน 1 ใน 7 กลุ่มโรคที่มีความเสี่ยงสูง
1.โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง
2. โรคหัวใจและหลอดเลือด
3. โรคไตวายเรื้อรัง
4. โรคหลอดเลือดสมอง
5. โรคอ้วน
6. โรคมะเร็ง
7. โรคเบาหวาน
หลายคนส่งคำถาม มาถามพี่หมอฝั่งธนว่า ....อ้วนแค่ไหนถึงจะเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคโควิดได้ง่าย
สำหรับหลักเกณฑ์ในการคำนวณ จะดูจาก ค่าดัชนีมวลกาย(BMI) ค่ะ คือ
ในผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป โดยแบ่งระดับความอ้วนไว้ 4 ระดับ ถ้ามีค่า BMI มากกว่าหรือเท่ากับ 35 ก็ถือว่ามีความเสี่ยงสูงค่ะ
เพราะคนที่เป็นโรคอ้วนชนิดรุนแรงมีความเสี่ยงในการเกิด กลุ่มอาการหายใจลำบากเฉียบพลัน (ARDS) ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญของ
โรคโควิด-19 นอกจากนี้ผู้ที่เป็นโรคอ้วนชนิดรุนแรงก็ยังมีโรคประจำตัวเรื้อรังอื่นๆ ที่ยิ่งเพิ่มความเสี่ยงของการมีอาการที่รุนแรงได้อีกด้วยค่ะ
ฉะนั้น ถ้ารู้ตัวเองว่าอ้วนอยู่และเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ก็หันมาลดน้ำหนัก เพื่อลดความเสี่ยงลงนะคะ