[๒๓๐] เอวมฺเม สุตํ เอกํ สมยํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ
เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม ฯ ตตฺร โข ภควา ... อสฺสุตวา
ภิกฺขเว ปุถุชฺชโน อิมสฺมึ จาตุมฺมหาภูติกสฺมึ กายสฺมึ นิพฺพินฺเทยฺยปิ
วิรชฺเชยฺยปิ วิมุจฺเจยฺยปิ ตํ กิสฺส เหตุ ทิสฺสติ หิ ๑- ภิกฺขเว
อิมสฺส จาตุมฺมหาภูติกสฺส กายสฺส อาจโยปิ อปจโยปิ อาทานมฺปิ
นิกฺเขปนมฺปิ ตสฺมา ตตฺราสฺสุตวา ปุถุชฺชโน นิพฺพินฺเทยฺยปิ
วิรชฺเชยฺยปิ วิมุจฺเจยฺยปิ ฯ
[๒๓๐] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้-
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่าน
อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ณ ที่นั้นแล
พระผู้มีพระภาคตรัสเรียก
ภิกษุทั้งหลายว่า ...
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้สดับ
จะพึงเบื่อหน่ายบ้าง
คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง
ในร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้
ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเหตุว่า ความเจริญก็ดี
ความเสื่อมก็ดี การเกิดก็ดี การตายก็ดี
ของร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ย่อมปรากฏ
ปุถุชนผู้มิได้สดับ
จึงเบื่อหน่ายบ้าง คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง
ในร่างกายนั้น
แต่ตถาคตเรียก
ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้เลย
ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะว่าจิตเป็นต้นนี้ อันปุถุชนมิได้สดับ รวบรัดถือ
ไว้ด้วยตัณหา ยึดถือด้วยทิฐิว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา
ดังนี้ ตลอดกาลช้านานฉะนั้น ปุถุชนผู้มิได้สดับ จึงไม่อาจจะเบื่อหน่าย
คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิตเป็นต้นนั้นได้เลย ฯ
[๖๑] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน
อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี
เขตกรุงสาวัตถี ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาค ...
“ภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ๑-
พึงเบื่อหน่ายบ้าง คลายกำหนัดบ้างหลุดพ้นบ้าง
จากกายซึ่งเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เพราะเหตุที่การประชุมก็ดี ความสิ้นไปก็ดี การยึดถือก็ดี การทอดทิ้งกาย
ซึ่งเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ก็ดี
ย่อมปรากฏ เพราะฉะนั้น
ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ
พึงเบื่อหน่ายบ้าง คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง จากกายนั้น
ตถาคตเรียกสิ่งนี้ว่า ‘จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง’
ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ
ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นไปจากจิตเป็นต้นนั้นได้
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เพราะจิตเป็นต้นนี้ ถูกรัดไว้ด้วยตัณหา ยึดถือว่าเป็นของเรา เป็นสิ่งที่ปุถุชน
ผู้ไม่ได้สดับยึดมั่นว่า ‘นั่นของเรา เราเป็นนั่น นั่นเป็นอัตตาของเรา’ ตลอดกาลนาน
เพราะฉะนั้น ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ จึงไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นไปจาก
จิตเป็นต้นนั้นได้
ใครแปลผิด
เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม ฯ ตตฺร โข ภควา ... อสฺสุตวา
ภิกฺขเว ปุถุชฺชโน อิมสฺมึ จาตุมฺมหาภูติกสฺมึ กายสฺมึ นิพฺพินฺเทยฺยปิ
วิรชฺเชยฺยปิ วิมุจฺเจยฺยปิ ตํ กิสฺส เหตุ ทิสฺสติ หิ ๑- ภิกฺขเว
อิมสฺส จาตุมฺมหาภูติกสฺส กายสฺส อาจโยปิ อปจโยปิ อาทานมฺปิ
นิกฺเขปนมฺปิ ตสฺมา ตตฺราสฺสุตวา ปุถุชฺชโน นิพฺพินฺเทยฺยปิ
วิรชฺเชยฺยปิ วิมุจฺเจยฺยปิ ฯ
[๒๓๐] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้-
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่าน
อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ณ ที่นั้นแล
พระผู้มีพระภาคตรัสเรียก
ภิกษุทั้งหลายว่า ...
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้สดับ
จะพึงเบื่อหน่ายบ้าง
คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง
ในร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้
ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเหตุว่า ความเจริญก็ดี
ความเสื่อมก็ดี การเกิดก็ดี การตายก็ดี
ของร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ย่อมปรากฏ
ปุถุชนผู้มิได้สดับ
จึงเบื่อหน่ายบ้าง คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง
ในร่างกายนั้น
แต่ตถาคตเรียก
ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้เลย
ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะว่าจิตเป็นต้นนี้ อันปุถุชนมิได้สดับ รวบรัดถือ
ไว้ด้วยตัณหา ยึดถือด้วยทิฐิว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา
ดังนี้ ตลอดกาลช้านานฉะนั้น ปุถุชนผู้มิได้สดับ จึงไม่อาจจะเบื่อหน่าย
คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิตเป็นต้นนั้นได้เลย ฯ
[๖๑] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน
อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี
เขตกรุงสาวัตถี ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาค ...
“ภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ๑-
พึงเบื่อหน่ายบ้าง คลายกำหนัดบ้างหลุดพ้นบ้าง
จากกายซึ่งเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เพราะเหตุที่การประชุมก็ดี ความสิ้นไปก็ดี การยึดถือก็ดี การทอดทิ้งกาย
ซึ่งเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ก็ดี
ย่อมปรากฏ เพราะฉะนั้น
ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ
พึงเบื่อหน่ายบ้าง คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง จากกายนั้น
ตถาคตเรียกสิ่งนี้ว่า ‘จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง’
ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ
ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นไปจากจิตเป็นต้นนั้นได้
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เพราะจิตเป็นต้นนี้ ถูกรัดไว้ด้วยตัณหา ยึดถือว่าเป็นของเรา เป็นสิ่งที่ปุถุชน
ผู้ไม่ได้สดับยึดมั่นว่า ‘นั่นของเรา เราเป็นนั่น นั่นเป็นอัตตาของเรา’ ตลอดกาลนาน
เพราะฉะนั้น ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ จึงไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นไปจาก
จิตเป็นต้นนั้นได้