จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
จะล่องลอย แล่นไปเอง
เหมือนวานรในป่าใหญ่
วานรเมื่อเที่ยวไปในป่าใหญ่จับกิ่งไม้
ปล่อยกิ่งนั้น ยึดเอากิ่งอื่น
ปล่อยกิ่งที่ยึดเดิม
เหนี่ยวกิ่งใหม่ต่อไป
ถ้าวานร ไม่มีมหาภูตรูป
ก็ไม่สามารถมี จิตบ้าง มโน บ้าง วิญญาณบ้าง
ล่องลอยไป แล่นไปในป่าใหญ่ได้เลย
เพราะจิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
ต้องอาศัยอยู่ในรูป เป็นผู้พาไป
รูปมีสมุฏฐานคือกรรม จิต อุตุ อาหาร
รวมกันเป็นมหาภูตรูป ของวานร
จิต บ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
อาศัยอยู่ในมหาภูตรูป
คือแล่นไปตามอายตนะ
ถ้ามหาภูตรูปไม่มีอายตน
ไม่มีจิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
ก็เหมือนซากศพ ดีๆๆนี่เอง
ไข่เพศแม่ ที่พร้อมผสมพันธุ์
ได้รับเชื้ออสุจิ คันทัพพะ
เกิดเป็นกัลละ จิตก็จะปฏิสนธิ
เมื่อกัลละเจริญเติบโต
เป็นก้อนเนื้อ ก็เกิดปฏิสนธิวิญญาณตามมา
จากจิตนี้ เกิดกายวิญญาณ
เมื่อ เกิด อายตนะครบ
ก็เกิด ปสาท ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
เกิดวิญญาณ ทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
ฉนั้น จิต บ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
ต้องอาศัยรูปคือมหาภูตรูป พาไปแล่นไปในป่าใหญ่
วิญญาณ
จะล่องลอย แล่นไปเองไม่ได้
ถ้าเป็นแบบนั้น ก็มีความคิดเห็นไม่ต่างจากสาติ
เพราะฉนั้น
ตถาคตเรียก
ร่างกายอันเป็นที่ประชุม
แห่งมหาภูตทั้ง๔
นี้ว่า
จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
ตามพระไตรปิฏกถูกต้องดีแล้ว
เพราะว่า
ร่างกายอัน
เป็นที่ประชุม
แห่งมหาภูตทั้ง๔ นั้น
ประกอบไปด้วย
อันเป็นที่ประชุมนั้น
มี ธาตุ ดิน น้ำ ลม ไฟ +อากาศธาตุ +วิญญาณธาตุ
ถ้ารูปนั้น ไม่มีวิญญาณธาตุ
ก็เป็นได้แค่ ต้นไม้ภูเขา จะเป็นวานรไม่ได้เลย
ถ้าจะให้
ตถาคตเรียก
สิ่งนี้ว่า
จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
แล้ว
สิ่งนี้ที่ว่า มาจากไหน
ถึงมีจิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
แล้วสิ่งนี้ อาศัยอยู่ที่ไหน
ถึงล่องลอย แล่นไป ได้ในป่าใหญ่
สิ่งนี้ต้องมีเหตุปัจจัย
จึงจะแล่นไปได้
ถ้าไม่เช่นนั้นก็เป็นโฆษะบุรุษ
ที่มีความคิดเห็นแบบสาติ
เหตุปัจจัยคือ
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารทั้งหลายจึงมี (รูปธรรม นามธรรม)
เพราะสังขาร(รูป นาม) เป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี
เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี
เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี
เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี
เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปาทานจึงมี
เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ภพจึงมี
เพราะภพเป็นปัจจัย ชาติจึงมี
เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะจึงมี
ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข์ โทมนัส และความคับแค้นใจ
ก็มีพร้อม ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้ จึงมี
รูปธรรม นามธรรม ก็รวมอยู่ในสังขารทั้งปวง
รูป นามเป็นเหตุปัจจัยให้เกิดวิญญาณ
วิญญาณเป็นเหตุปัจจัยให้เกิดนามรูป
วิญญาณจะเกิดขึ้น ลอยๆๆโดยไม่มีรูป
ไม่มีมหาภูตรูป ไม่ได้
เพราะว่าวิญญาณต้องอาศัยอายตนะเกิด
จะล่องลอยไปตามต้นไม้ใบหญ้าไม่ได้
ฉนั้นวานร ที่เป็น จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
จะต้องอาศัย มหาภูตรูปพาไปเที่ยวในป่าใหญ่
และปฏิสนธิวิญญาณ ที่มาจากจิตที่เกิดจากครรภ์
เกิด
จักขุวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางตา คือรู้รูปด้วยตา หรือการเห็น
โสตวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางหู คือรู้เสียงด้วยหู หรือการได้ยิน
ฆานวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางจมูก คือรู้กลิ่นด้วยจมูก หรือการได้กลิ่น
ชิวหาวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางลิ้น คือรู้รสด้วยลิ้น หรือการรู้รส
กายวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางกาย คือรู้โผฏฐัพพะด้วยกาย หรือการรู้สึกกายสัมผัส
มโนวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางใจ คือรู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ หรือการนึกคิด
เมื่อได้สดับ จิตก็
มาพิจารณาอยู่อย่างนี้.......
ย่อมหน่ายแม้ในรูป
ย่อมหน่ายแม้ในเวทนา
ย่อมหน่ายแม้ในสัญญา
ย่อมหน่ายแม้ในสังขารทั้งหลาย
ย่อมหน่ายแม้ในวิญญาณ
เมื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด
เพราะคลายกำหนัด
จิตจึงหลุดพ้น
เมื่อหลุดพ้นแล้ว
ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้วย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว
พรหมจรรย์ อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ
ทำเสร็จแล้วกิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ดังนี้แล ฯ
และขอย้ำว่า
ตถาคตเรียก
ร่างกายอันเป็นที่ประชุม
แห่งมหาภูตทั้ง๔
นี้ว่า
จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
เป็ยสิ่งที่ถูกต้องดีแล้ว
ตถาคตเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง๔นี้ว่าจิตบ้างมโนบ้างวิญญาณบ้างเพราะ?
จะล่องลอย แล่นไปเอง
เหมือนวานรในป่าใหญ่
วานรเมื่อเที่ยวไปในป่าใหญ่จับกิ่งไม้
ปล่อยกิ่งนั้น ยึดเอากิ่งอื่น
ปล่อยกิ่งที่ยึดเดิม
เหนี่ยวกิ่งใหม่ต่อไป
ถ้าวานร ไม่มีมหาภูตรูป
ก็ไม่สามารถมี จิตบ้าง มโน บ้าง วิญญาณบ้าง
ล่องลอยไป แล่นไปในป่าใหญ่ได้เลย
เพราะจิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
ต้องอาศัยอยู่ในรูป เป็นผู้พาไป
รูปมีสมุฏฐานคือกรรม จิต อุตุ อาหาร
รวมกันเป็นมหาภูตรูป ของวานร
จิต บ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
อาศัยอยู่ในมหาภูตรูป
คือแล่นไปตามอายตนะ
ถ้ามหาภูตรูปไม่มีอายตน
ไม่มีจิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
ก็เหมือนซากศพ ดีๆๆนี่เอง
ไข่เพศแม่ ที่พร้อมผสมพันธุ์
ได้รับเชื้ออสุจิ คันทัพพะ
เกิดเป็นกัลละ จิตก็จะปฏิสนธิ
เมื่อกัลละเจริญเติบโต
เป็นก้อนเนื้อ ก็เกิดปฏิสนธิวิญญาณตามมา
จากจิตนี้ เกิดกายวิญญาณ
เมื่อ เกิด อายตนะครบ
ก็เกิด ปสาท ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
เกิดวิญญาณ ทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
ฉนั้น จิต บ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
ต้องอาศัยรูปคือมหาภูตรูป พาไปแล่นไปในป่าใหญ่
วิญญาณ
จะล่องลอย แล่นไปเองไม่ได้
ถ้าเป็นแบบนั้น ก็มีความคิดเห็นไม่ต่างจากสาติ
เพราะฉนั้น
ตถาคตเรียก
ร่างกายอันเป็นที่ประชุม
แห่งมหาภูตทั้ง๔
นี้ว่า
จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
ตามพระไตรปิฏกถูกต้องดีแล้ว
เพราะว่า
ร่างกายอันเป็นที่ประชุม
แห่งมหาภูตทั้ง๔ นั้น
ประกอบไปด้วย อันเป็นที่ประชุมนั้น
มี ธาตุ ดิน น้ำ ลม ไฟ +อากาศธาตุ +วิญญาณธาตุ
ถ้ารูปนั้น ไม่มีวิญญาณธาตุ
ก็เป็นได้แค่ ต้นไม้ภูเขา จะเป็นวานรไม่ได้เลย
ถ้าจะให้
ตถาคตเรียก
สิ่งนี้ว่า
จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
แล้ว สิ่งนี้ที่ว่า มาจากไหน
ถึงมีจิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
แล้วสิ่งนี้ อาศัยอยู่ที่ไหน
ถึงล่องลอย แล่นไป ได้ในป่าใหญ่
สิ่งนี้ต้องมีเหตุปัจจัย
จึงจะแล่นไปได้
ถ้าไม่เช่นนั้นก็เป็นโฆษะบุรุษ
ที่มีความคิดเห็นแบบสาติ
เหตุปัจจัยคือ
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารทั้งหลายจึงมี (รูปธรรม นามธรรม)
เพราะสังขาร(รูป นาม) เป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี
เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี
เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี
เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี
เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปาทานจึงมี
เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ภพจึงมี
เพราะภพเป็นปัจจัย ชาติจึงมี
เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะจึงมี
ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข์ โทมนัส และความคับแค้นใจ
ก็มีพร้อม ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้ จึงมี
รูปธรรม นามธรรม ก็รวมอยู่ในสังขารทั้งปวง
รูป นามเป็นเหตุปัจจัยให้เกิดวิญญาณ
วิญญาณเป็นเหตุปัจจัยให้เกิดนามรูป
วิญญาณจะเกิดขึ้น ลอยๆๆโดยไม่มีรูป
ไม่มีมหาภูตรูป ไม่ได้
เพราะว่าวิญญาณต้องอาศัยอายตนะเกิด
จะล่องลอยไปตามต้นไม้ใบหญ้าไม่ได้
ฉนั้นวานร ที่เป็น จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
จะต้องอาศัย มหาภูตรูปพาไปเที่ยวในป่าใหญ่
และปฏิสนธิวิญญาณ ที่มาจากจิตที่เกิดจากครรภ์
เกิด
จักขุวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางตา คือรู้รูปด้วยตา หรือการเห็น
โสตวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางหู คือรู้เสียงด้วยหู หรือการได้ยิน
ฆานวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางจมูก คือรู้กลิ่นด้วยจมูก หรือการได้กลิ่น
ชิวหาวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางลิ้น คือรู้รสด้วยลิ้น หรือการรู้รส
กายวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางกาย คือรู้โผฏฐัพพะด้วยกาย หรือการรู้สึกกายสัมผัส
มโนวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางใจ คือรู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ หรือการนึกคิด
เมื่อได้สดับ จิตก็
มาพิจารณาอยู่อย่างนี้.......
ย่อมหน่ายแม้ในรูป
ย่อมหน่ายแม้ในเวทนา
ย่อมหน่ายแม้ในสัญญา
ย่อมหน่ายแม้ในสังขารทั้งหลาย
ย่อมหน่ายแม้ในวิญญาณ
เมื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด
เพราะคลายกำหนัด
จิตจึงหลุดพ้น
เมื่อหลุดพ้นแล้ว
ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้วย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว
พรหมจรรย์ อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ
ทำเสร็จแล้วกิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ดังนี้แล ฯ
และขอย้ำว่า
ตถาคตเรียก
ร่างกายอันเป็นที่ประชุม
แห่งมหาภูตทั้ง๔
นี้ว่า
จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
เป็ยสิ่งที่ถูกต้องดีแล้ว