"นิด้าโพล" คนไม่เห็นด้วย ลงโทษ ส.ส.แหกมติพรรค มองเป็นสิทธิแต่ละคน
https://www.innnews.co.th/news/politics/news_51759/
“นิด้าโพล” คนไม่เห็นด้วย ลงโทษ ส.ส.แหกมติพรรค มองเป็นสิทธิแต่ละคน แนะ ปรับ ครม. บางตำแหน่ง
“
นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เผยผลสำรวจความคิดเห็นประชาชนทั่วประเทศจำนวน1,310 หน่วยตัวอย่าง เรื่อง “
ลงโทษผู้โหวต สวนมติพรรคอย่างไรดี” ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 24 – 26 กุมภาพันธ์ 2564 เมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อการลงโทษ ส.ส. พรรคร่วมรัฐบาล ที่โหวตไม่เป็นไปตามมติพรรคร่วมรัฐบาลพบว่า
ร้อยละ 52.67 ระบุว่า ไม่ควรมีการลงโทษ เพราะ เป็นสิทธิของแต่ละบุคคลในการเเสดงความคิดเห็นที่เเตกต่าง ไม่จำเป็นต้องตามมติของพรรคเสมอไป
รองลงมา ร้อยละ 45.80 ระบุว่า ควรมีการลงโทษ เพราะ ไม่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ตนเอง ส.ส. มีหน้าที่เป็นตัวแทนประชาชนต้องออกเสียงหรือทำตามมติพรรค
เมื่อถามถึงรูปแบบการลงโทษ จากผู้ที่ระบุว่าควรมีการลงโทษ พบว่า
ส่วนใหญ่ ร้อยละ 34.34 ระบุว่า ไม่ส่งลงสมัคร ส.ส. ในนามพรรค ในการเลือกตั้งครั้งหน้า
รองลงมา ร้อยละ 26.00 ระบุว่า ห้ามไม่ให้ทำกิจกรรมทางการเมืองร่วมกับพรรค หรือรัฐบาลอีกต่อไป
ร้อยละ 17.33ระบุ ว่า ปลดออกจากทุกตำแหน่งในพรรคและรัฐบาล
ด้านความคิดเห็นของประชาชนต่อการลงโทษ ส.ส. พรรคฝ่ายค้าน ที่โหวตไม่เป็นไปตามมติพรรคฝ่ายค้าน พบว่า
ส่วนใหญ่ ร้อยละ 53.82 ระบุว่า ไม่ควรมีการลงโทษ เพราะ ต้องเคารพความคิดเห็นของแต่ละบุคคล สิทธิเสรีภาพเท่าเทียมกันสามารถมีความคิดเห็นที่แตกต่าง กันได้
รองลงมา ร้อยละ 43.82 ระบุว่า ควรมีการลงโทษ เพราะ เป็นการไม่ปฏิบัติตามมติพรรคและไม่ยุติธรรมต่อพรรคที่ตนเองสังกัด เปรียบเสมือนเป็นงูเห่าของพรรค
เมื่อถามถึงรูปแบบการลงโทษ จากผู้ที่ระบุว่าควรมีการลงโทษ พบว่า
ส่วนใหญ่ ร้อยละ 33.45 ระบุว่า ไม่ส่งลงสมัคร ส.ส. ในนามพรรค ในการเลือกตั้งครั้งหน้า
รองลงมา ร้อยละ 27.70 ระบุว่า ห้ามไม่ให้ทำกิจกรรมทางการเมืองร่วมกับพรรคอีกต่อไป
ร้อยละ 17.07 ระบุว่า ไล่ออกจากพรรค
ท้ายที่สุด เมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อการปรับคณะรัฐมนตรี (ครม.) หลังการอภิปรายไม่ไว้วางใจ
ส่วนใหญ่ ร้อยละ 49.24 ระบุว่า ควรมีการปรับ ครม. เพียงแค่บางตำแหน่ง
รองลงมา ร้อยละ 33.66 ระบุว่า ควรมีการปรับ ครม. ครั้งใหญ่
ร้อยละ 11.68 ระบุว่า ไม่ควร มีการปรับ ครม.
“สวนดุสิตโพล” เผยผลสำรวจประชาชนชี้การเยียวยามีเงื่อนไขมากเกินไป อยากให้รบ.เยียวยาทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียม
https://www.matichon.co.th/economy/news_2600358
“สวนดุสิตโพล” เผยผลสำรวจประชาชนชี้การเยียวยามีเงื่อนไขมากเกินไป อยากให้รบ.เยียวยาทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียม
เมื่อวันที่ 28 ก.พ.64 สวนดุสิดโพล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้เปิดเผยผลสำรวจ เรื่อง “ประชาชนคิดอย่างไรกับมาตรการ เยียวยาโควิด-19 ระลอกใหม่ของรัฐบาล” โดยสำรวจกลุ่มตัวอย่างทั่วประเทศ จำนวน 1,087 คนระหว่างวันี่ 23-26 ก.พ.64 โดยเมื่อถามว่าภาพรวมความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อมาตรการต่างๆของรัฐบาล พบว่า 50.60% ค่อนข้างพอใจ 19.69% ไม่ค่อยพอใจ
เมื่อถามว่ามาตรการเยียวยาดควิด-19 ระลอกใหม่ของรัฐบาลที่ประชาชนพึงพอใจพบว่า มีคนพึงพอใจเรื่องการลดค่าไฟฟ้า 2 เดือน มากที่สุดที่ 41.58% ลดค่น้ำ 10% 2 เดือน ที่ 40.66% คนละครึ่งขยายสิทธิ์เพิ่มอีก 1 ล้านสิทธิ์มีความพอใจที่ 40.20%
สิ่งที่ประชาชนอยากให้รัฐบาลคำนึงในการที่จะออกมาตรการช่วยเหลือ คือเยียยาประชาชนทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียมกันที่ 71.72% รองลงมาคือ ขั้นตอนการลงทะเบียนต้องไม่ยุ่งยาก หรือซับซ้อนที่ 62.38% และไม่ต้องมีการลงทะเบียน/ไม่ต้องแย่งกันลงทะเบียนที่ 61.37%
จุดด้อยของมาตรการช่วยเหลือเยียวยาคือ มีเงื่อนไขมากเกินไปเกิดความเหลื่อมล้ำที่ 52.34% ขั้นตอนยุ่งยาก ซับซ้อน ล่าช้า ขาดประสิทธิภาพ33.19%
JJNY : คนไม่เห็นด้วยลงโทษส.ส.แหกมติ│ดุสิตโพลเผยปชช.ชี้เยียวยามีเงื่อนไขมาก│ส.อ.ท.ชี้ปรับครม.ต้องเยส│พรรคเล็กตื้อแบ่งเค้ก
https://www.innnews.co.th/news/politics/news_51759/
“นิด้าโพล” คนไม่เห็นด้วย ลงโทษ ส.ส.แหกมติพรรค มองเป็นสิทธิแต่ละคน แนะ ปรับ ครม. บางตำแหน่ง
“นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เผยผลสำรวจความคิดเห็นประชาชนทั่วประเทศจำนวน1,310 หน่วยตัวอย่าง เรื่อง “ลงโทษผู้โหวต สวนมติพรรคอย่างไรดี” ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 24 – 26 กุมภาพันธ์ 2564 เมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อการลงโทษ ส.ส. พรรคร่วมรัฐบาล ที่โหวตไม่เป็นไปตามมติพรรคร่วมรัฐบาลพบว่า
ร้อยละ 52.67 ระบุว่า ไม่ควรมีการลงโทษ เพราะ เป็นสิทธิของแต่ละบุคคลในการเเสดงความคิดเห็นที่เเตกต่าง ไม่จำเป็นต้องตามมติของพรรคเสมอไป
รองลงมา ร้อยละ 45.80 ระบุว่า ควรมีการลงโทษ เพราะ ไม่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ตนเอง ส.ส. มีหน้าที่เป็นตัวแทนประชาชนต้องออกเสียงหรือทำตามมติพรรค
เมื่อถามถึงรูปแบบการลงโทษ จากผู้ที่ระบุว่าควรมีการลงโทษ พบว่า
ส่วนใหญ่ ร้อยละ 34.34 ระบุว่า ไม่ส่งลงสมัคร ส.ส. ในนามพรรค ในการเลือกตั้งครั้งหน้า
รองลงมา ร้อยละ 26.00 ระบุว่า ห้ามไม่ให้ทำกิจกรรมทางการเมืองร่วมกับพรรค หรือรัฐบาลอีกต่อไป
ร้อยละ 17.33ระบุ ว่า ปลดออกจากทุกตำแหน่งในพรรคและรัฐบาล
ด้านความคิดเห็นของประชาชนต่อการลงโทษ ส.ส. พรรคฝ่ายค้าน ที่โหวตไม่เป็นไปตามมติพรรคฝ่ายค้าน พบว่า
ส่วนใหญ่ ร้อยละ 53.82 ระบุว่า ไม่ควรมีการลงโทษ เพราะ ต้องเคารพความคิดเห็นของแต่ละบุคคล สิทธิเสรีภาพเท่าเทียมกันสามารถมีความคิดเห็นที่แตกต่าง กันได้
รองลงมา ร้อยละ 43.82 ระบุว่า ควรมีการลงโทษ เพราะ เป็นการไม่ปฏิบัติตามมติพรรคและไม่ยุติธรรมต่อพรรคที่ตนเองสังกัด เปรียบเสมือนเป็นงูเห่าของพรรค
เมื่อถามถึงรูปแบบการลงโทษ จากผู้ที่ระบุว่าควรมีการลงโทษ พบว่า
ส่วนใหญ่ ร้อยละ 33.45 ระบุว่า ไม่ส่งลงสมัคร ส.ส. ในนามพรรค ในการเลือกตั้งครั้งหน้า
รองลงมา ร้อยละ 27.70 ระบุว่า ห้ามไม่ให้ทำกิจกรรมทางการเมืองร่วมกับพรรคอีกต่อไป
ร้อยละ 17.07 ระบุว่า ไล่ออกจากพรรค
ท้ายที่สุด เมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อการปรับคณะรัฐมนตรี (ครม.) หลังการอภิปรายไม่ไว้วางใจ
ส่วนใหญ่ ร้อยละ 49.24 ระบุว่า ควรมีการปรับ ครม. เพียงแค่บางตำแหน่ง
รองลงมา ร้อยละ 33.66 ระบุว่า ควรมีการปรับ ครม. ครั้งใหญ่
ร้อยละ 11.68 ระบุว่า ไม่ควร มีการปรับ ครม.
“สวนดุสิตโพล” เผยผลสำรวจประชาชนชี้การเยียวยามีเงื่อนไขมากเกินไป อยากให้รบ.เยียวยาทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียม
https://www.matichon.co.th/economy/news_2600358
“สวนดุสิตโพล” เผยผลสำรวจประชาชนชี้การเยียวยามีเงื่อนไขมากเกินไป อยากให้รบ.เยียวยาทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียม
เมื่อวันที่ 28 ก.พ.64 สวนดุสิดโพล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้เปิดเผยผลสำรวจ เรื่อง “ประชาชนคิดอย่างไรกับมาตรการ เยียวยาโควิด-19 ระลอกใหม่ของรัฐบาล” โดยสำรวจกลุ่มตัวอย่างทั่วประเทศ จำนวน 1,087 คนระหว่างวันี่ 23-26 ก.พ.64 โดยเมื่อถามว่าภาพรวมความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อมาตรการต่างๆของรัฐบาล พบว่า 50.60% ค่อนข้างพอใจ 19.69% ไม่ค่อยพอใจ
เมื่อถามว่ามาตรการเยียวยาดควิด-19 ระลอกใหม่ของรัฐบาลที่ประชาชนพึงพอใจพบว่า มีคนพึงพอใจเรื่องการลดค่าไฟฟ้า 2 เดือน มากที่สุดที่ 41.58% ลดค่น้ำ 10% 2 เดือน ที่ 40.66% คนละครึ่งขยายสิทธิ์เพิ่มอีก 1 ล้านสิทธิ์มีความพอใจที่ 40.20%
สิ่งที่ประชาชนอยากให้รัฐบาลคำนึงในการที่จะออกมาตรการช่วยเหลือ คือเยียยาประชาชนทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียมกันที่ 71.72% รองลงมาคือ ขั้นตอนการลงทะเบียนต้องไม่ยุ่งยาก หรือซับซ้อนที่ 62.38% และไม่ต้องมีการลงทะเบียน/ไม่ต้องแย่งกันลงทะเบียนที่ 61.37%
จุดด้อยของมาตรการช่วยเหลือเยียวยาคือ มีเงื่อนไขมากเกินไปเกิดความเหลื่อมล้ำที่ 52.34% ขั้นตอนยุ่งยาก ซับซ้อน ล่าช้า ขาดประสิทธิภาพ33.19%
“มาตรการเยียวยาโควิด-19 ระลอกใหม่ของรัฐบาล”
https://ppantip.com/topic/40549805