มงฺคลสุตฺตํ
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ฯ
๑
เอวมฺเม สุตํ ฯ เอกํ สมยํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม ฯ อถ โข อญฺญตรา เทวตา อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺณา เกวลกปฺปํ เชตวนํ โอภาเสตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ เอกมนฺตํ ฐิตา โข สา เทวตา ภควนฺตํ คาถาย อชฺฌภาสิ ฯ
๒
พหู เทวา มนุสฺสา จ มงฺคลานิ อจินฺตยุ ํ
อากงฺขมานา โสตฺถานํ พฺรูหิ มงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๓
อเสวนา จ พาลานํ ปณฺฑิตานญฺจ เสวนา
ปูชา จ ปูชนียานํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๔
ปฏิรูปเทสวาโส จ ปุพฺเพ จ กตปุญฺญตา
อตฺตสมฺมาปณิธิ จ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๕
พาหุสจฺจญฺจ สิปฺปญฺจ วินโย จ สุสิกฺขิโต
สุภาสิตา จ ยา วาจา เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๖
มาตาปิตุอุปฏฺฐานํ ปุตฺตทารสฺส สงฺคโห
อนากุลา จ กมฺมนฺตา เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๗
ทานญฺจ ธมฺมจริยา จ ญาตกานญฺจ สงฺคโห
อนวชฺชานิ กมฺมานิ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๘
อารตี วิรตี ปาปา มชฺชปานา จ สญฺญโม
อปฺปมาโท จ ธมฺเมสุ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๙
คารโว จ นิวาโต จ สนฺตุฏฺฐี จ กตญฺญุตา
กาเลน ธมฺมสฺสวนํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๑๐
ขนฺตี จ โสวจสฺสตา สมณานญฺจ ทสฺสนํ
กาเลน ธมฺมสากจฺฉา เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๑๑
ตโป จ {พฺรหฺมจริยา} จ อริยสจฺจานทสฺสนํ
นิพฺพานสจฺฉิกิริยา จ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๑๒
ผุฏฺฐสฺส โลกธมฺเมหิ จิตฺตํ ยสฺส น กมฺปติ
อโสกํ วิรชํ เขมํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๑๓
เอตาทิสานิ กตฺวาน สพฺพตฺถมปราชิตา
สพฺพตฺถ โสตฺถึ คจฺฉนฺติ ตนฺเตสํ มงฺคลมุตฺตมํ ฯ
มงฺคลสุตฺตํ
: Dhammaruwan สวดไว้อย่างนี้
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้5.
Maṅgalasuttaṃ
Namo tassa bhagavato arahato sammāsambuddhassa.
1.
Evaṃ me sutaṃ – ekaṃ samayaṃ bhagavā sāvatthiyaṃ viharati jetavane anāthapiṇḍikassa ārāme. Atha kho aññatarā devatā abhikkantāya rattiyā abhikkantavaṇṇā kevalakappaṃ jetavanaṃ obhāsetvā yena bhagavā tenupasaṅkami; upasaṅkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhāsi. Ekamantaṃ ṭhitā kho sā devatā bhagavantaṃ gāthāya ajjhabhāsi –
2.
‘‘Bahū devā manussā ca, maṅgalāni acintayuṃ;
Ākaṅkhamānā sotthānaṃ, brūhi maṅgalamuttamaṃ’’.
3.
‘‘Asevanā ca bālānaṃ, paṇḍitānañca sevanā;
Pūjā ca {pūjanīyānaṃ}, {etammaṅgalamuttamaṃ}.
4.
‘‘Patirūpadesavāso ca, pubbe ca katapuññatā;
Attasammāpaṇidhi ca, etaṃ maṅgalamuttamaṃ.
5.
‘‘Bāhusaccañca sippañca, vinayo ca susikkhito;
Subhāsitā ca yā vācā, etaṃ maṅgalamuttamaṃ.
6.
‘‘Mātāpitu upaṭṭhānaṃ, puttadārassa saṅgaho;
Anākulā ca kammantā, etaṃ maṅgalamuttamaṃ.
7.
‘‘Dānañca dhammacariyā ca, ñātakānañca saṅgaho;
Anavajjāni kammāni, etaṃ maṅgalamuttamaṃ.
8.
‘‘Āratī viratī pāpā, majjapānā ca saṃyamo;
Appamādo ca dhammesu, etaṃ maṅgalamuttamaṃ.
9.
‘‘Gāravo ca nivāto ca, {santuṭṭhī} ca kataññutā;
Kālena dhammassavanaṃ, etaṃ maṅgalamuttamaṃ.
10.
‘‘Khantī ca sovacassatā, samaṇānañca dassanaṃ;
Kālena dhammasākacchā, etaṃ maṅgalamuttamaṃ.
11.
‘‘Tapo ca {brahmacariyā} ca, ariyasaccāna dassanaṃ;
Nibbānasacchikiriyā ca, etaṃ maṅgalamuttamaṃ.
12.
‘‘Phuṭṭhassa lokadhammehi, cittaṃ yassa na kampati;
Asokaṃ virajaṃ khemaṃ, etaṃ maṅgalamuttamaṃ.
13.
‘‘Etādisāni katvāna, sabbatthamaparājitā;
Sabbattha sotthiṃ gacchanti, taṃ tesaṃ maṅgalamuttama’’nti.
Maṅgalasuttaṃ niṭṭhitaṃ.
: Chanted by Dhammaruwan.
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ตํานานมังคลปริตร :
มังคลปริตร คือ ปริตรที่กล่าวถึงมงคล ๓๘ มีประวัติว่า ในกาลก่อนที่พระพุทธเจ้าจะตรัสมงคลนี้ได้เกิดปัญหาถกเถียงกันในมนุษยโลกว่า อะไรเป็นมงคล บางคนกล่าวว่ารูปที่เห็นดีเป็นมงคล บางคนกล่าวว่าเสียงที่ได้ยินดีเป็นมงคล บางคนกล่าวว่า กลิ่น รส สัมผัสที่ดีเป็นมงคล ต่างฝ่ายก็ยืนยันความเห็นของตน แต่ไม่สามารถอธิบายให้ฝ่ายอื่นยอมรับได้ ปัญหานี้ได้แพร่ไปถึงเทวโลกและพรหมโลก จนเทวดาและพรหมได้แบ่งแยกเป็น ๓ ฝ่ายเหมือนมนุษย์และปัญหานั้นหาข้อยุติไม่ได้เป็นเวลาถึง ๑๒ ปีต่อมาในปีที่ ๑๒ เหล่าเทวดาชั้นดาวดึงส์ได้ทูลถามปัญหานี้กับพระอินทร์ท้าวเธอจึงทรงมอบหมายให้เทพบุตรตนหนึ่งทูลถามปัญหานี้กับพระพุทธเจ้า แล้วเสด็จมาเฝ้าพร้อมกับเหล่าเทวดาเพื่อสดับมงคล ฉะนั้นพระพุทธองค์จึงตรัสพระปริตรนี้ตามคําอาราธนาของเทพบุตรนั้น
บทขัดมังคลปริตร :
๑.
ยญฺจ ทฺวาทส วสฺสานิ จินฺตยึสุ สเทวกา
จิรสฺสํ จินฺตยนฺตาปิ เนว ชานึสุ มงฺคลํ.
มนุษย์และเทวดาทั้งหลายคิดหาสิ่งที่เป็นมงคลอยู่ถึง ๑๒ ปี แม้ว่าจะคิดผ่านไปเป็นเวลานาน ก็ยังไม่รู้เลยทีเดียว
๒.
จกฺกวาฬสหสฺเสสุ ทสสุ เยน ตตฺตกํ
กาลํ โกลาหลํ ชาตํ ยาว พฺรหฺมนิเวสนา.
ความโกลาหลเรื่องมงคล ได้เกิดขึ้นถึงพรหมโลกตลอดหมื่นจักรวาลเป็นเวลา ๑๒ ปี
๓.
ยํ โลกนาโถ เทเสสิ สพฺพปาปวินาสนํ
ยํ สุตฺวา สพฺพทุกฺเขหิ มุจฺจนฺตา’สงฺขิยา นรา
เอวมาทิคุณูเปตํ มงฺคลํ ตํ ภณาม เห.
พระโลกนาถทรงแสดงสิ่งที่เป็นมงคล อันสามารถขจัดบาปทั้งปวงได้ เมื่อนรชนนับประมาณมิได้สดับแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง ขอเราทั้งหลายจงร่วมกันสวดมงคลปริตรนั้น ซึ่งประกอบด้วยคุณอย่างนี้เป็นต้นเถิด
มังคลปริตร
เอวํ เม สุตํ.
ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วดังนี้
เอกํ สมยํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม.
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐีใกล้พระนครสาวัตถี
อถ โข อญฺตรา เทวตา อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺณา เกวลกปฺปํ เชตวนํ โอภาเสตฺวา เยน ภควา, เตนุปสงฺกมิ.
ครั้งนั้นแล เมื่อปฐมยามแห่งราตรีล่วงแล้ว เทวดาตนหนึ่งทรงรัศมีงามยิ่ง ทําพระเชตวันโดยรอบทั้งหมดให้สว่างไสว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค
อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺาสิ.
เมื่อถึงที่ประทับ ได้ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาค แล้วยืนอยู่ข้างหนึ่ง
เอกมนฺตํ ิตา โข สา เทวตา ภควนฺตํ คาถาย อชฺฌภาสิ.
ครั้นแล้วเทวดาได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคด้วยคาถาว่า
พหู เทวา มนุสฺสา จ มงฺคลานิ อจินฺตยุ ํ
อากงฺขมานา โสตฺถานํ พฺรูหิ มงฺคลมุตฺตมํ.
เทวดาและมนุษย์ทั้งหลายเป็นอันมาก มุ่งคิดหามงคลเพื่อความสวัสดีอยู่ ขอพระองค์จงตรัสสิ่งที่เป็นมงคลอันประเสริฐเถิด
[พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า]
๑.
อเสวนา จ พาลานํ ปณฺฑิตานญฺจ เสวนา
ปูชา จ ปูชนียานํ เอตํ มงฺคลมุตฺตมํ.
การไม่คบคนพาล การคบแต่บัณฑิต และการบูชาผู้ที่ควรบูชา นี้เป็นมงคลอันสูงสุด
๒.
ปติรูปเทสวาโส จ ปุพฺเพ จ กตปุญฺตา
อตฺตสมฺมาปณิธิ จ เอตํ มงฺคลมุตฺตมํ.
การอยู่ในสถานที่เหมาะสม การได้บํา เพ็ญบุญมาก่อน และการวางตัวถูกต้อง นี้เป็นมงคลอันสูงสุด
๓.
พาหุสจฺจญฺจ สิปฺปญฺจ วินโย จ สุสิกฺขิโต
สุภาสิตา จ ยา วาจา เอตํ มงฺคลมุตฺตมํ.
การมีความรู้มาก การทํา งานช่าง การมีวินัยอย่างดี และการพูดถ้อยคําไพเราะ นี้เป็นมงคลอันสูงสุด
๔.
มาตาปิตุอุปฏฺานํ ปุตฺตทารสฺส สงฺคโห
อนากุลา จ กมฺมนฺตา เอตํ มงฺคลมุตฺตมํ.
การเลี้ยงดูมารดาบิดา การสงเคราะห์บุตรภรรยา และการงานไม่สับสนยุ่งเหยิง นี้เป็นมงคลอันสูงสุด
๕.
ทานญฺจ ธมฺมจริยา จ าตกานญฺจ สงฺคโห
อนวชฺชานิ กมฺมานิ เอตํ มงฺคลมุตฺตมํ.
การให้ทาน การประพฤติธรรม การสงเคราะห์ญาติและการทํางานที่ปราศจากโทษ นี้เป็นมงคลอันสูงสุด
๖.
อารตี วิรตี ปาปา มชฺชปานา จ สญฺโม
อปฺปมาโท จ ธมฺเมสุ เอตํ มงฺคลมุตฺตมํ.
การอดใจไม่กระทําบาป การระวังตนห่างจากการดื่มน้ำเมา และการประพฤติตนไม่ประมาท นี้เป็นมงคลอันสูงสุด
๗.
คารโว จ นิวาโต จ สนฺตุฏฺิ จ กตญฺญุตา
กาเลน ธมฺมสฺสวนํ เอตํ มงฺคลมุตฺตมํ.
ความเคารพ การไม่ทะนงตน ความสันโดษ ความรู้บุญคุณและการฟังธรรมในเวลาที่เหมาะสม นี้เป็นมงคลอันสูงสุด
๘.
ขนฺตี จ โสวจสฺสตา สมณานญฺจ ทสฺสนํ
กาเลน ธมฺมสากจฺฉา เอตํ มงฺคลมุตฺตมํ.
ความอดทน ความเป็นคนว่าง่าย การได้พบเห็นสมณะ และการสนทนาธรรมในเวลาอันสมควร นี้เป็นมงคลอันสูงสุด
๙.
ตโป จ พฺรหฺมจริยญฺจ อริยสจฺจาน ทสฺสนํ
นิพฺพานสจฺฉิกิริยา จ เอตํ มงฺคลมุตฺตมํ.
การบํา เพ็ญตบะ การประพฤติพรหมจรรย์ การเห็นแจ้งอริยสัจ และการทํานิพพานให้แจ้ง นี้เป็นมงคลอันสูงสุด
๑๐.
ผุฏฺสฺส โลกธมฺเมหิ จิตฺตํ ยสฺส น กมฺปติ
อโสกํ วิรชํ เขมํ เอตํ มงฺคลมุตฺตมํ.
จิตของบุคคลผู้ถูกโลกธรรมมากระทบแล้ว ไม่หวั่นไหว ไม่เศร้าโศก ไม่ขุ่นมัว เบิกบานอยู่ นี้เป็นมงคลอันสูงสุด
๑๑.
เอตาทิสานิ กตฺวาน สพฺพตฺถ มปราชิตา
สพฺพตฺถ โสตฺถึ คจฺฉนฺติ ตํ เตสํ มงฺคลมุตฺตมํ.
ผู้ปฏิบัติเช่นนี้ได้แล้ว จะไม่พ่ายแพ้ในที่ทุกสถาน ถึงความสวัสดีทุกแห่ง นี้เป็นมงคลอันสูงสุดของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
: ความจาก >>> พระปริตรธรรม
Download >>>
พระปริตรธรรม <<< คลิก
มังคลปริตร - มังคลสูตร - Mangala Sutta By Dhammaruwan
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ฯ
เอวมฺเม สุตํ ฯ เอกํ สมยํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม ฯ อถ โข อญฺญตรา เทวตา อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺณา เกวลกปฺปํ เชตวนํ โอภาเสตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ เอกมนฺตํ ฐิตา โข สา เทวตา ภควนฺตํ คาถาย อชฺฌภาสิ ฯ
๒
พหู เทวา มนุสฺสา จ มงฺคลานิ อจินฺตยุ ํ
อากงฺขมานา โสตฺถานํ พฺรูหิ มงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๓
อเสวนา จ พาลานํ ปณฺฑิตานญฺจ เสวนา
ปูชา จ ปูชนียานํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๔
ปฏิรูปเทสวาโส จ ปุพฺเพ จ กตปุญฺญตา
อตฺตสมฺมาปณิธิ จ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๕
พาหุสจฺจญฺจ สิปฺปญฺจ วินโย จ สุสิกฺขิโต
สุภาสิตา จ ยา วาจา เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๖
มาตาปิตุอุปฏฺฐานํ ปุตฺตทารสฺส สงฺคโห
อนากุลา จ กมฺมนฺตา เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๗
ทานญฺจ ธมฺมจริยา จ ญาตกานญฺจ สงฺคโห
อนวชฺชานิ กมฺมานิ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๘
อารตี วิรตี ปาปา มชฺชปานา จ สญฺญโม
อปฺปมาโท จ ธมฺเมสุ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๙
คารโว จ นิวาโต จ สนฺตุฏฺฐี จ กตญฺญุตา
กาเลน ธมฺมสฺสวนํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๑๐
ขนฺตี จ โสวจสฺสตา สมณานญฺจ ทสฺสนํ
กาเลน ธมฺมสากจฺฉา เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๑๑
ตโป จ {พฺรหฺมจริยา} จ อริยสจฺจานทสฺสนํ
นิพฺพานสจฺฉิกิริยา จ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๑๒
ผุฏฺฐสฺส โลกธมฺเมหิ จิตฺตํ ยสฺส น กมฺปติ
อโสกํ วิรชํ เขมํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ฯ
๑๓
เอตาทิสานิ กตฺวาน สพฺพตฺถมปราชิตา
สพฺพตฺถ โสตฺถึ คจฺฉนฺติ ตนฺเตสํ มงฺคลมุตฺตมํ ฯ
มงฺคลสุตฺตํ
: Dhammaruwan สวดไว้อย่างนี้
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
Download >>> พระปริตรธรรม <<< คลิก