คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 14
ผมว่าเรื่องอารมณ์ (เวทนา) เป็นเรื่องน่าศึกษาที่สุดในชีวิตมนุษย์เลย
เพราะมนุษย์ทุกรูปทุกนาม ปราถนาแต่ สุขเวทนา แต่ จะมีมนุษย์สักกี่คนที่จะทราบว่า
อารมณ์ความสุขแบบนั้น อยู่กับเราเพียงช่วงเวลาสั้น ๆ หากเราเข้าใจธรรมชาติเรื่องนี้
เราจะวางเฉยต่อทุก ๆ อารมณ์ที่เข้ามา
เพราะมนุษย์ทุกรูปทุกนาม ปราถนาแต่ สุขเวทนา แต่ จะมีมนุษย์สักกี่คนที่จะทราบว่า
อารมณ์ความสุขแบบนั้น อยู่กับเราเพียงช่วงเวลาสั้น ๆ หากเราเข้าใจธรรมชาติเรื่องนี้
เราจะวางเฉยต่อทุก ๆ อารมณ์ที่เข้ามา
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
ทัฏฐัพพสูตร.... เรื่องเวทนา 3 (มีคำถาม...ครับ)
คือ - สุขเวทนา - ทุกขเวทนา - อทุกขมสุขเวทนา
ภิกษุทั้งหลาย พึงเห็น...สุขเวทนา...............โดยความเป็นทุกข์ <--------------(เห็นอย่างไร?)
พึงเห็น...ทุกขเวทนา.............โดยความเป็นลูกศร <--------------(เห็นอย่างไร?)
พึงเห็น...อทุกขมสุขเวทนา.....โดยความเป็นของไม่เที่ยง <------เ(ห็นอย่างไร?)
ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย เพราะเหตุที่ภิกษุ......เห็น...สุขเวทนา................โดยความเป็นทุกข์
เห็น...ทุกขเวทนา..............โดยความเป็น ลูกศร
เห็น....อทุกขมสุขเวทนา.....โดยความเป็นของไม่เที่ยง
ภิกษุนี้เรากล่าวว่า มีความเห็นโดยชอบ ตัดตัณหาได้เด็ดขาด เพิกถอนสังโยชน์ได้แล้ว ได้กระทำที่สุดแห่งทุกข์แล้ว เพราะละมานะได้ โดยชอบ
[๓๖๘] ถ้าภิกษุใด.....เห็น....สุข...............................โดยความเป็นทุกข์
เห็น.....ทุกข์............................โดยความเป็นลูกศร
เห็น......อทุกขมสุขซึ่งมีอยู่นั้น....โดยความเป็นของไม่เที่ยง
ภิกษุนั้นเป็นผู้เห็นโดยชอบ ย่อมกำหนดรู้เวทนาทั้งหลายได้
ครั้นกำหนดรู้เวทนาแล้ว เป็นผู้หาอาสวะมิได้ในปัจจุบัน ตั้งอยู่ในธรรม ถึงที่สุดเวท
เมื่อตายไป ย่อมไม่เข้าถึงความนับว่าเป็นผู้กำหนัด ขัดเคือง เป็นผู้งมงาย ฯ
จบสูตรที่ ๕
https://etipitaka.com/read/thai/18/221/