อ้างอิงจากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ในประเทศไทยเราจะสามารถสังเกต
NEOWISE ในช่วงตั้งแต่ปัจจุบันจนถึงวันที่ 16 กรกฎาคม 2563 ในช่วงเช้ามืดจนถึงก่อนดงอาทิตย์โผล่พ้นของฟ้า ใกล้กับเส้นขอบฟ้าทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาพจากสุพรรณบุรี
https://mgronline.com/science/detail/9630000070198
และในช่วงหัวค่ำทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือหลังจากวันที่ 18 กรกฎาคม 2563 เป็นต้นไป
ช่วงที่เหมาะสมที่สุดในการสังเกตคือประมาณวันที่ 20-23 กรกฎาคมหลังจากออกห่างจากดวงอาทิตย์พอสมควรแล้ว (และยังเป็นช่วงคืนเดือนมืดที่ดาวหางจะไม่ถูกบดบังโดยแสงรบกวนจากดวงจันทร์) โดยจะสว่างที่สุดประมาณวันที่ 23 กรกฎาคมก่อนที่จะเลือนรางลงเรื่อย ๆ และหายไปในที่สุด
ที่มา
เรียบเรียงโดย ทีมงาน Spaceth.co
https://spaceth.co/comet-neowise/
ชมดาวหาง NEOWISE ต้องทำอย่างไร 20-22 กรกฎาคม ด้วยตาเปล่า
อ้างอิงจากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ในประเทศไทยเราจะสามารถสังเกต
NEOWISE ในช่วงตั้งแต่ปัจจุบันจนถึงวันที่ 16 กรกฎาคม 2563 ในช่วงเช้ามืดจนถึงก่อนดงอาทิตย์โผล่พ้นของฟ้า ใกล้กับเส้นขอบฟ้าทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาพจากสุพรรณบุรี
https://mgronline.com/science/detail/9630000070198
และในช่วงหัวค่ำทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือหลังจากวันที่ 18 กรกฎาคม 2563 เป็นต้นไป
ช่วงที่เหมาะสมที่สุดในการสังเกตคือประมาณวันที่ 20-23 กรกฎาคมหลังจากออกห่างจากดวงอาทิตย์พอสมควรแล้ว (และยังเป็นช่วงคืนเดือนมืดที่ดาวหางจะไม่ถูกบดบังโดยแสงรบกวนจากดวงจันทร์) โดยจะสว่างที่สุดประมาณวันที่ 23 กรกฎาคมก่อนที่จะเลือนรางลงเรื่อย ๆ และหายไปในที่สุด
ที่มา
เรียบเรียงโดย ทีมงาน Spaceth.co
https://spaceth.co/comet-neowise/