คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
1 Pa = 1 N / m2
ปรอทในปริซึมพื้นที่ฐาน 1 ตารางเมตรสูง 760 mm มวล 100 cm × 100 cm × 76 cm × 13.534 g/cm3 = 10,285,840 g = 10,285.84 kg
หรือหนัก 10,285.84 kg × 9.81 N/kg = 100,904 N
ดังนั้นความดันบรรยากาศ = 100,904 N / 1 m2 = 100,904 Pa ก็ไม่ตรงกันเป๊ะกับตัวเลข 101,325 Pa แต่ก็ใกล้เคียงครับ คงต้องหาตัวเลขที่ละเอียดกว่านี้ โดยเฉพาะความหนาแน่นของปรอท (ไม่รู้กำหนดอุณหภูมิด้วยหรือเปล่า) และค่า g (แรงดึงดูดของโลก)
ปรอทในปริซึมพื้นที่ฐาน 1 ตารางเมตรสูง 760 mm มวล 100 cm × 100 cm × 76 cm × 13.534 g/cm3 = 10,285,840 g = 10,285.84 kg
หรือหนัก 10,285.84 kg × 9.81 N/kg = 100,904 N
ดังนั้นความดันบรรยากาศ = 100,904 N / 1 m2 = 100,904 Pa ก็ไม่ตรงกันเป๊ะกับตัวเลข 101,325 Pa แต่ก็ใกล้เคียงครับ คงต้องหาตัวเลขที่ละเอียดกว่านี้ โดยเฉพาะความหนาแน่นของปรอท (ไม่รู้กำหนดอุณหภูมิด้วยหรือเปล่า) และค่า g (แรงดึงดูดของโลก)
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
ทำไม1atm = 101,325 pascal หรือ N/m^2
และ 1atm = 760mmHg = 101,325pa
ผมสงสัยว่าการทดลองไหนที่ทำให้รู้ว่า 1atm = 101,325 N/m^2
ต้องทำการทดลองแบบไหน ถึงได้ค่า101,325ออกมาได้
จากการทดลองสร้างbarometer ครั้งแรก(ไม่นับของgalileo) ของ blaise pascal
เขาสร้างbarometerได้ในหน่วยของ mmHg, cmHg
แล้วหน่วยN=m^2ละ ใครเป็นคนทำให้รู้ว่า 760mmHg = 101,325pa
แล้วเขาทำยังไง
🤔🤔🤔
(เขียนอะไรผิด ขออภัยครับ🙏)