ตามมาตรฐานสากล ทุกภาษาที่ไม่ใช้ละตินเป็นหลักจะต้องมี Romanization System
แปลแบบหยาบ Romanization ก็คือ ภาษาคาราโอเกะ
แม้แต่ รัสเซีย ยังต้องมีเลยนะครับ
มันคือการแปลง พยัญชนะ สระ ตัวสะกด ของแต่ละภาษาให้อยู่ในฟอร์มอักษรอังกฤษครับ ซึ่งแต่ละภาษามีสิทธิ์ที่จะปรับแต่ง Romanization ของตัวเองได้ตามอำเภอใจครับ คำว่า ตามอำเภอใจของผม ไม่ใช่ว่า คนไทยคนนี้จะใช้ e แทนสระ เอ แล้ว คนไทยอีกคนจะใช้ e แทนสระ อี ไรงี้นะครับ แต่คือ ต่างภาษาใช้ต่างกันได้
เช่น ไทยใช้ O กับทั้ง สระออ และ สระโอ
หนองมน ใช้ NONG MON
อ่อนนุช ใช้ ON NUT
ในขณะที่เกาหลีใช้แยกกัน
เค้าใช้ O กับสระโอ (오)
BON CHON (본촌) ต้องอ่าน บน ชน ไม่ใช่ บอน ชอน (ตัดเรื่องสำเนื่องออก เอาแค่คำ)
แต่ สระออ (어) เค้าใช้ EO
SEOUL (서울) อ่าน ซอ อุล แปลว่า โซล (เมืองหลวงเกาหลี)
ซึ่ง Romanization ของแต่ละภาษา จะต้องสร้างได้ทุก พยัญชนะและสระ ที่ภาษานั้นๆมี
ดังนั้น ยิ่งคำแปลก (ในมุมภาษาอังกฤษ) การสะกดก็ย่อมแปลกเป็นธรรมดา
อย่างไทยเราก็
UE คือ สระอือ
บางซื่อ ใข้ BANG SUE
เติม A หน่อยเป็น สระเอือ (UEA)
หนองเสือ ใช้ NONG SUEA
Romanization คือสิ่งที่ใช้เป็นมาตรฐานทางการสื่อสาร โดยเฉพาะ ตาม แผนที่ ป้ายบอกทาง อะไรที่ออกโดยราชการ มันก็เป็นเหมือน ชื่อวิทยาศาสตร์รูปแบบนึงนั่นแหละครับ แม้ว่าจะมั่วๆมากหน่อยก็ตาม แต่ความมั่วนี่ก็เป็นมาตรฐานไปเลย ไปที่ไหนในประเทศก็จะเจอแบบเดียวกัน บนแผนที่ บนป้าย
บาง อะไรก็ BANG คุณจะไม่มีทางเจอแบบสะกดถูกๆ BARNG เด็ดขาด เพราะ ทางการของไทยได้กำหนดว่า สระอา คือ A ไม่ใช่ AR
มารู้จัก Romanization หรือ ภาษาคาราโอเกะที่ใช้ในชีวิตจริง กัน
แปลแบบหยาบ Romanization ก็คือ ภาษาคาราโอเกะ
แม้แต่ รัสเซีย ยังต้องมีเลยนะครับ
มันคือการแปลง พยัญชนะ สระ ตัวสะกด ของแต่ละภาษาให้อยู่ในฟอร์มอักษรอังกฤษครับ ซึ่งแต่ละภาษามีสิทธิ์ที่จะปรับแต่ง Romanization ของตัวเองได้ตามอำเภอใจครับ คำว่า ตามอำเภอใจของผม ไม่ใช่ว่า คนไทยคนนี้จะใช้ e แทนสระ เอ แล้ว คนไทยอีกคนจะใช้ e แทนสระ อี ไรงี้นะครับ แต่คือ ต่างภาษาใช้ต่างกันได้
เช่น ไทยใช้ O กับทั้ง สระออ และ สระโอ
หนองมน ใช้ NONG MON
อ่อนนุช ใช้ ON NUT
ในขณะที่เกาหลีใช้แยกกัน
เค้าใช้ O กับสระโอ (오)
BON CHON (본촌) ต้องอ่าน บน ชน ไม่ใช่ บอน ชอน (ตัดเรื่องสำเนื่องออก เอาแค่คำ)
แต่ สระออ (어) เค้าใช้ EO
SEOUL (서울) อ่าน ซอ อุล แปลว่า โซล (เมืองหลวงเกาหลี)
ซึ่ง Romanization ของแต่ละภาษา จะต้องสร้างได้ทุก พยัญชนะและสระ ที่ภาษานั้นๆมี
ดังนั้น ยิ่งคำแปลก (ในมุมภาษาอังกฤษ) การสะกดก็ย่อมแปลกเป็นธรรมดา
อย่างไทยเราก็
UE คือ สระอือ
บางซื่อ ใข้ BANG SUE
เติม A หน่อยเป็น สระเอือ (UEA)
หนองเสือ ใช้ NONG SUEA
Romanization คือสิ่งที่ใช้เป็นมาตรฐานทางการสื่อสาร โดยเฉพาะ ตาม แผนที่ ป้ายบอกทาง อะไรที่ออกโดยราชการ มันก็เป็นเหมือน ชื่อวิทยาศาสตร์รูปแบบนึงนั่นแหละครับ แม้ว่าจะมั่วๆมากหน่อยก็ตาม แต่ความมั่วนี่ก็เป็นมาตรฐานไปเลย ไปที่ไหนในประเทศก็จะเจอแบบเดียวกัน บนแผนที่ บนป้าย
บาง อะไรก็ BANG คุณจะไม่มีทางเจอแบบสะกดถูกๆ BARNG เด็ดขาด เพราะ ทางการของไทยได้กำหนดว่า สระอา คือ A ไม่ใช่ AR