อานาปานสติ 16 ฐาน
(สติกำหนดลมหายใจ, การเจริญอานาปานสติ คือใช้สติกำหนดลมหายใจเข้า-ออก
แบบที่เป็นการเจริญสติปัฏฐานไปด้วยครบทั้ง 4 - mindfulness of breathing with sixteen bases)
จตุกกะที่ 1 : กายานุปัสสนา
1)
ทีฆํ วา อสฺสสนฺโต 'ทีฆํ อสฺสสามี'ติ ปชานาติ,
ทีฆํ วา ปสฺสสนฺโต 'ทีฆํ ปสฺสสามี'ติ ปชานาติ;
2)
รสฺสํ วา อสฺสสนฺโต 'รสฺสํ อสฺสสามี'ติ ปชานาติ,
รสฺสํ วา ปสฺสสนฺโต 'รสฺสํ ปสฺสสามี'ติ ปชานาติ;
3)
'สพฺพกายปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ,
'สพฺพกายปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ;
4)
'ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ อสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ,
'ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ ปสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ.
1)
เมื่อหายใจเข้ายาว เธอก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้ายาว
หรือเมื่อหายใจออกยาว เธอก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกยาว
2)
เมื่อหายใจเข้าสั้น เธอก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้าสั้น
หรือเมื่อหายใจออกสั้น เธอก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกสั้น
3)
เธอสำเหนียกว่า เราจักรู้ทั่วกาย(กองลม)ทั้งหมด หายใจเข้า
เธอสำเหนียกว่า เราจักรู้ทั่วกาย(กองลม)ทั้งหมด หายใจออก
4)
เธอสำเหนียกว่า เราจักผ่อนระงับกายสังขาร หายใจเข้า
เธอสำเหนียกว่า เราจักผ่อนระงับกายสังขาร หายใจออก
1.
Breathing in long, he knows: “I am breathing in long”,
or breathing out long, he knows: “I am breathing out long”,
2.
Breathing in short, he knows: “I am breathing in short”:
or breathing out short, he knows: “I am breathing out short”;
3.
He trains thus: “Experiencing the entire (breath-) body, I shall breathe in”,
He trains thus: “Experiencing the entire (breath-) body, I shall breathe out”;
4.
He trains thus: “Calming the bodily formation, I shall breathe in”,
He trains thus: “Calming the bodily formation, I shall breathe out”.
จตุกกะที่ 2 : เวทนานุปัสสนา
5)
'ปีติปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ,
'ปีติปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ;
6)
'สุขปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ,
'สุขปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ;
7)
'จิตฺตสงฺขารปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ,
'จิตฺตสงฺขารปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ;
8)
'ปสฺสมฺภยํ จิตฺตสงฺขาร อสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ,
'ปสฺสมฺภยํ จิตฺตสงฺขาร ปสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ.
5)
เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้ปีติ หายใจเข้า
เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้ปีติ หายใจออก
6)
เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้ความสุข หายใจเข้า
เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้ความสุข หายใจออก
7)
เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้จิตตสังขาร หายใจเข้า
เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้จิตตสังขาร หายใจออก
8)
เธอสำเหนียกว่า เราจักผ่อนระงับจิตตสังขาร หายใจเข้า
เธอสำเหนียกว่า เราจักผ่อนระงับจิตตสังขาร หายใจออก
5.
He trains thus: “Experiencing rapture, I shall breathe in”,
He trains thus: “Experiencing rapture, I shall breathe out”;
6.
He trains thus: “Experiencing joy, I shall breathe in”,
He trains thus: “Experiencing joy, I shall breathe out”;
7.
He trains thus: “Experiencing the mental formation, I shall breathe in”,
He trains thus: “Experiencing the mental formation, I shall breathe out”;
8.
He trains thus: “Calming the mental formation, I shall breathe in”,
He trains thus: “Calming the mental formation, I shall breathe out”;
จตุกกะที่ 3 : จิตตานุปัสสนา
9)
'จิตฺตปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ,
'จิตฺตปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ;
10)
'อภิปฺปโมทย์ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ,
'อภิปฺปโมทย์ จิตฺตํ ปสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ;
11)
'สมาทหํ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ,
'สมาทหํ จิตฺตํ ปสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ;
12)
'วิโมจยํ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ,
'วิโมจยํ จิตฺตํ ปสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ.
9)
เธอสำเหนียกว่า เราจักรู้ทั่วถึงจิต หายใจเข้า
เธอสำเหนียกว่า เราจักรู้ทั่วถึงจิต หายใจออก
10)
เธอสำเหนียกว่า เราจักทำจิตให้ร่าเริง หายใจเข้า
เธอสำเหนียกว่า เราจักทำจิตให้ร่าเริง หายใจออก
11)
เธอสำเหนียกว่า เราจักทำจิตให้ตั้งมั่น หายใจเข้า
เธอสำเหนียกว่า เราจักทำจิตให้ตั้งมั่น หายใจออก
12)
เธอสำเหนียกว่า เราจักปล่อยเปลื้องจิต หายใจเข้า
เธอสำเหนียกว่า เราจักปล่อยเปลื้องจิต หายใจออก
9.
He trains thus: “Experiencing the mind, I shall breathe in”,
He trains thus: “Experiencing the mind, I shall breathe out”;
10.
He trains thus: “Gladdening the mind, I shall breathe in”,
He trains thus: “Gladdening the mind, I shall breathe out”;
11.
He trains thus: “Concentrating the mind, I shall breathe in”,
He trains thus: “Concentrating the mind, I shall breathe out”;
12.
He trains thus: “Liberating the mind, I shall breathe in”,
He trains thus: “Liberating the mind, I shall breathe out”.
จตุกกะที่ 4 : ธัมมานุปัสสนา
13)
'อนิจฺจานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ,
'อนิจฺจานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ;
14)
'วิราคานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ,
'วิราคานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ;
15)
'นิโรธานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ,
'นิโรธานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ;
16)
'ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ,
'ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามี'ติ สิกฺขติ.
13)
เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความไม่เที่ยง หายใจเข้า
เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความไม่เที่ยง หายใจออก
14)
เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความคลายออกได้ หายใจเข้า
เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความคลายออกได้ หายใจออก
15)
เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความดับกิเลส หายใจเข้า
เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความดับกิเลส หายใจออก
16)
เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความสลัดคืนได้ หายใจเข้า
เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความสลัดคืนได้ หายใจออก
13.
He trains thus: “Contemplating impermanence, I shall breathe in”,
He trains thus: “Contemplating impermanence, I shall breathe out”;
14.
He trains thus: “Contemplating fading away, I shall breathe in”,
He trains thus: “Contemplating fading away, I shall breathe out”;
15.
He trains thus: “Contemplating cessation, I shall breathe in”,
He trains thus: “Contemplating cessation, I shall breathe out”;
16.
He trains thus: “Contemplating relinquishment, I shall breathe in”,
He trains thus: “Contemplating relinquishment, I shall breathe out”.
เจริญสติปัฏฐาน4ได้ต้องเจริญอานาปานสติกรรมฐานควบคู่กันไปด้วย