ราคะมี ๒ ลักษณะ
๑. ราคะมิจฉาไม่ถูกต้อง เป็นไปทางลบ คือ ใฝ่หาสิ่งที่จะมาสนองอารมณ์ตนเองในทางที่ไม่ถูกต้อง ในทางที่ไม่ดี
๒. ราคะสัมมาที่ถูกต้อง เป็นไปทางบวก คือ ใฝ่หาสิ่งที่จะมาสนองอารมณ์ตนเองในทางที่ถูกต้อง ในทางที่ดี
ราคะเป็นสิ่งธรรมชาติในธรรม แต่เราจะเอาตัวอะไรไปบวกกับราคะ เช่น เราเอาสัมมาไปบวกกับราคะ ก็ใช้ราคะไปทางดี ถูกต้อง แต่ถ้าเรามิจฉาไปบวกกับราคะ ก็ใช้ราคะไปในทางที่ไม่ถูกต้อง
"ราคะ" เป็นกลางๆ เป็นของธรรม เปรียบเสมือนมีดหนึ่งเล่ม มีความเป็นกลางๆ แต่เราเอามีดเล่มนี้ไปฆ่าคนหรือจะเอามีดเล่มนี้ไปทำอาหารให้คนกิน
^_^ ..._/\_... ^_^
ขอความเคารพ หากผู้รู้มีสิ่งชี้แนะ น้อมรับฟังเสมอ และขอความกรุณาแย้ง ชี้แจง ชี้แนะ แม้แต่ต้องการให้เพิ่มเติมสิ่งใด ก็ขอได้บอกกล่าวมา
อ.พรหมสิทธิ์ ทิพย์ธาดาวงศ์
เอื้อ-เกื้อ-กัน เป็นกัลยาณมิตรทุกขณะจิต
ราคะมี ๒ ลักษณะ
๑. ราคะมิจฉาไม่ถูกต้อง เป็นไปทางลบ คือ ใฝ่หาสิ่งที่จะมาสนองอารมณ์ตนเองในทางที่ไม่ถูกต้อง ในทางที่ไม่ดี
๒. ราคะสัมมาที่ถูกต้อง เป็นไปทางบวก คือ ใฝ่หาสิ่งที่จะมาสนองอารมณ์ตนเองในทางที่ถูกต้อง ในทางที่ดี
ราคะเป็นสิ่งธรรมชาติในธรรม แต่เราจะเอาตัวอะไรไปบวกกับราคะ เช่น เราเอาสัมมาไปบวกกับราคะ ก็ใช้ราคะไปทางดี ถูกต้อง แต่ถ้าเรามิจฉาไปบวกกับราคะ ก็ใช้ราคะไปในทางที่ไม่ถูกต้อง
"ราคะ" เป็นกลางๆ เป็นของธรรม เปรียบเสมือนมีดหนึ่งเล่ม มีความเป็นกลางๆ แต่เราเอามีดเล่มนี้ไปฆ่าคนหรือจะเอามีดเล่มนี้ไปทำอาหารให้คนกิน
^_^ ..._/\_... ^_^
ขอความเคารพ หากผู้รู้มีสิ่งชี้แนะ น้อมรับฟังเสมอ และขอความกรุณาแย้ง ชี้แจง ชี้แนะ แม้แต่ต้องการให้เพิ่มเติมสิ่งใด ก็ขอได้บอกกล่าวมา
อ.พรหมสิทธิ์ ทิพย์ธาดาวงศ์
เอื้อ-เกื้อ-กัน เป็นกัลยาณมิตรทุกขณะจิต