--- คุณ สมาชิกหมายเลข 3730065 เห็นคำตอบ ที่ถามไว้ ในกรทู้เดิมหรือยัง ครับ

กระทู้คำถาม
กระทู้
? เราเขี่ยอรรถกถาออก เราคือใคร ?
https://m.ppantip.com/topic/39082345?

ความคิดเห็นที่ 29-1

วงกลม ไป หามาดีกว่า ว่า พระพุทธเจ้า บัญญัติ ให้ สวด 227 ไว้อย่างไร ที่มามาอย่างไร

ถ้าบอกว่าแปลผิด ต้องเป็น เกินกว่า 150  แล้ว เกินไป 2 ข้อเป็น 152 ได้มั้ย 
หรือ ต้องเกินเป็น 227 มายังไง 227 หรือ เกินเป็น  400 ข้อ ได้มั้ย 
คำว่า เกินกว่า นี่มันกว้างเกินไปแก้ไขข้อความเมื่อ วันพุธ เวลา 15:15 น.
 สมาชิกหมายเลข 3730065


ความคิดเห็นที่ 47

มีการอ้างว่า พระพุทธเจ้า บัญญัติสิกขาบท 150 ก่อนจากนั้นภายหลัง บัญญัติเพิ่มอีก เป็น 220
และ สุดท้าย เพิ่มอีก 7 เป็น 227 

ประเด็นข้อสังเกต คือ 
1.เหตุใด มีแต่ พระสูตรที่ตรัสเรื่อง สิกขาบท 150  
ถ้าพระพุทธเจ้า บัญญัติสิกขาบท ให้สวดเพิ่มไม่ว่าจะเป็น สิกขาบท 220 หรือสิกขาบท 227 
ทำไมไม่มีในพระสูตรเลย ในพระไตรปิฎกทั้ง 45 เล่ม 
ทั้งที่ สิกขาบทเหล่านี้ เป็นเรื่องสำคัญที่ภิกษุ ต้องสวดทุกครึ่งเดือน 
2.ประเด็นที่ 2 สิกขาบทเหล่านี้ ต้องถูกบัญญัติขึ้นก่อนพระพุทธเจ้า ปรินิพพาน  สาวกบัญญัติเพิ่มเองไม่ได้ 
ในเมื่อพระพุทธเจ้า บัญญัติเพิ่มทีหลัง เหตุใด พระมหากัสสปะ ทำสังคายนาคำสอน ครั้งแรก 
ไม่ได้มีการรวบรวมเรื่องราว พระสูตรที่มาของ สิกขาบท 220 หรือ สิกขาบท 227 เลย
แล้วเหตุใด ปรากฏแต่พระสูตร สิกขาบท 150 ซึ่งเป็นของเดิมที่ สืบทอดกันมาในพระไตรปิฎก 

นับตั้งแต่ราตรีที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ถ้าภิกษุต้องสวดสิกขาบท 227 ข้อทุกกึ่งเดือนแล้ว 
เมื่อทำสังคายนา ไม่กล่าวถึงเหตุการณ์ที่ พระพุทธเจ้า ทรงบัญญัติ สิกขาบท 220 หรือ 227 ไปในพระไตรปิฎกเลย 
สิ่งนี้สวดกันเป็นประจำทำไม ไม่กล่าวถึง 

เรื่องราวในพระไตรปิฎก มีมากมาย หลายเรื่อง แม้แต่เรื่องอาบัติทุกกฏ 
แต่เรื่อง สิกขาบท 227 นี่เป็นเรื่องสำคัญ ที่ต้องสวดทุกกึ่งเดือน 
ทำไมตกหล่นไปจาก พระไตรปิฎก 45 เล่ม ไม่แปลกใจกันหรือ 
ทำไมมีแต่ เรื่องราวของสิกขาบท 150 เท่านั้น ที่ให้สวดทุกกึ่งเดือนแก้ไขข้อความเมื่อ วันพุธ เวลา 18:44 น.
 สมาชิกหมายเลข 3730065  
วันพุธ เวลา 18:19 น.

คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 9
ท่านวงกลมไปถาม065 มากๆ เดี๋ยว0065 เวลาไปไม่ถูกก็จะถามตอบว่าแล้วอาบัติข้อไหนแจงมาสิ
555
0065นี่แกชอบตีความพระสูตรแบบดำน้ำเหมือนเจ้าสำนัก เช่นมรณะกาเลมีสองขยัก
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่