..
พระเอก พา สาวไปถ่ายรูป
แล้วกลับมาที่ ปัจจุบัน มีรุ่นต่อมา ไปเจอรูป หลังรูปเขียนว่า ถ่ายปี 1924 คือถ้าบวกกลับเป็น พ.ศ. 2467
สถานีรถไฟ เชียงใหม่ เปิดใช้ ปี พ.ศ. 2469 """
ช่วงสุดท้ายก่อน ถึงเชียงใหม่ ใชเวลานานกว่า จะเสร็จในช่วงสุดท้าย
... การสรา้งทางรถไฟสายเหนือถึงเชียงใหม่ ใช้เวลา 25 ปี
ปางยาง ( ลำพูน )- อุโมงค์ขุนตาน - เชียงใหม่ เปิดเดินรถไฟ. พ.ศ. 2469 ระยะทาง 72 กม.
หลังจากที่ทางรถไฟสายเหนือสร้างมาถึงเชียงใหม่ ทำให้การเดินทางจากกรุงเทพขึ้นมาเชียงใหม่ใช้เวลาไม่นานเหมือนแต่ก่อน ผู้คนจำนวนมากหันมาใช้บริการของรถไฟจึงทำให้แต่ละขบวนแออัดไปด้วยผู้โดยสาร จนบางครั้งต้องออกแรงปีนขึ้นไปนั่งบนหลังคาก็มี หลังจากนั้นทางมณฑลพายัพจึงได้สร้างสถานีรถไฟประจำเชียงใหม่ขึ้น ชาวบ้านเรียกสถานีนี้ว่า
สถานีป๋ายราง
หมายถึงที่สิ้นสุดของรางรถไฟ หลังการก่อสร้างสถานีรถไฟเชียงใหม่เสร็จ
ก็ได้มีพิธีเปิดทำการเดินรถไฟสายเหนือขึ้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2464
อาคารสถานีรถไฟเชียงใหม่หลังแรก สร้างเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กชั้นเดียว ถือได้ว่าเป็นอาคารที่สวยงามมาก
เพราะเป็นประตูผ่านเข้าออกระหว่างเชียงใหม่กับต่างจังหวัดที่มีคนใช้กันมากที่สุด
สถานีรถไฟเชียงใหม่หลังแรกนี้เคยถูกใช้เป็นที่รับเสด็จ ฯ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7
และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี เมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินประพาสมณฑลพายัพ
ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 สถานีรถไฟเชียงใหม่หลังนี้ ถูกเครื่องบินของฝ่ายสัมพันธมิตรทิ้งระเบิดพังพินาศไปพร้อมกับชีวิตคนนับร้อย รวมทั้งอาคารบ้านเรือน โกดังเก็บสินค้าที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงราบเรียบไปหมดเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2486 หลังจากสถานีเชียงใหม่ถูกระเบิด ทางราชการต้องประกาศงดใช้สถานีรถไฟแห่งนี้ไปหลายปี ผู้โดยสารที่เดินทางโดยรถไฟต้องไปขึ้นลงที่สถานีป่าเส้า จังหวัดลำพูนแทน ต่อมาเมื่อสงครามสงบแล้วจึงได้สร้างสถานีรถไฟขึ้นมาใหม่ในที่เดิมในปี พ.ศ. 2488 และเปิดอีกครั้งในปี พ.ศ. 2491 และใช้มาจนถึงปัจจุบัน
"""""""""""""""""
ภาพ สถานีรถไฟเชียงใหม่ หลังแรก
สถานีรถไฟเชียงใหม่ เปิดใช้พ.ศ.2469 ถ้าลบด้วย 543 จะเป็นปีคศ.1926 ช้ากว่าที่ละครอ้างอิง 2 ปีว่าถ่ายรูปปี 1924ก่อนขึ้นรถไฟ
พระเอก พา สาวไปถ่ายรูป
แล้วกลับมาที่ ปัจจุบัน มีรุ่นต่อมา ไปเจอรูป หลังรูปเขียนว่า ถ่ายปี 1924 คือถ้าบวกกลับเป็น พ.ศ. 2467
สถานีรถไฟ เชียงใหม่ เปิดใช้ ปี พ.ศ. 2469 """
ช่วงสุดท้ายก่อน ถึงเชียงใหม่ ใชเวลานานกว่า จะเสร็จในช่วงสุดท้าย
... การสรา้งทางรถไฟสายเหนือถึงเชียงใหม่ ใช้เวลา 25 ปี
ปางยาง ( ลำพูน )- อุโมงค์ขุนตาน - เชียงใหม่ เปิดเดินรถไฟ. พ.ศ. 2469 ระยะทาง 72 กม.
หลังจากที่ทางรถไฟสายเหนือสร้างมาถึงเชียงใหม่ ทำให้การเดินทางจากกรุงเทพขึ้นมาเชียงใหม่ใช้เวลาไม่นานเหมือนแต่ก่อน ผู้คนจำนวนมากหันมาใช้บริการของรถไฟจึงทำให้แต่ละขบวนแออัดไปด้วยผู้โดยสาร จนบางครั้งต้องออกแรงปีนขึ้นไปนั่งบนหลังคาก็มี หลังจากนั้นทางมณฑลพายัพจึงได้สร้างสถานีรถไฟประจำเชียงใหม่ขึ้น ชาวบ้านเรียกสถานีนี้ว่า
สถานีป๋ายราง
หมายถึงที่สิ้นสุดของรางรถไฟ หลังการก่อสร้างสถานีรถไฟเชียงใหม่เสร็จ
ก็ได้มีพิธีเปิดทำการเดินรถไฟสายเหนือขึ้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2464
อาคารสถานีรถไฟเชียงใหม่หลังแรก สร้างเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กชั้นเดียว ถือได้ว่าเป็นอาคารที่สวยงามมาก
เพราะเป็นประตูผ่านเข้าออกระหว่างเชียงใหม่กับต่างจังหวัดที่มีคนใช้กันมากที่สุด
สถานีรถไฟเชียงใหม่หลังแรกนี้เคยถูกใช้เป็นที่รับเสด็จ ฯ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7
และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี เมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินประพาสมณฑลพายัพ
ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 สถานีรถไฟเชียงใหม่หลังนี้ ถูกเครื่องบินของฝ่ายสัมพันธมิตรทิ้งระเบิดพังพินาศไปพร้อมกับชีวิตคนนับร้อย รวมทั้งอาคารบ้านเรือน โกดังเก็บสินค้าที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงราบเรียบไปหมดเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2486 หลังจากสถานีเชียงใหม่ถูกระเบิด ทางราชการต้องประกาศงดใช้สถานีรถไฟแห่งนี้ไปหลายปี ผู้โดยสารที่เดินทางโดยรถไฟต้องไปขึ้นลงที่สถานีป่าเส้า จังหวัดลำพูนแทน ต่อมาเมื่อสงครามสงบแล้วจึงได้สร้างสถานีรถไฟขึ้นมาใหม่ในที่เดิมในปี พ.ศ. 2488 และเปิดอีกครั้งในปี พ.ศ. 2491 และใช้มาจนถึงปัจจุบัน
"""""""""""""""""
ภาพ สถานีรถไฟเชียงใหม่ หลังแรก