สิ่งที่รฟท.ต้องทำเมื่อกรมขนส่งทางรางมาถึง

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอก่อนหน้านี้ก็มีอคติกับรฟท. แต่พอมาดูคลิปนี้เห็นอะไรหลายๆอย่าง ทั้งเรื่องความมั่นคงขององค์กร ความอิสระ คือถ้ามีกรมขนส่งทางรางจริงๆแต่กดหมายที่จะออกมา ทั้งเรื่องของการกำหนดมาตราฐาน ทั้งเรื่องการก่อสร้างรางที่กำลังสร้างกัน ทั้งโรงงานรถไฟที่กำลังจะสร้างควร ให้ผู้เชี่ยวชาญของรฟท.มาเป็นคนออกแบบ มาเป็นคนช่วยก็สร้าง เพราะรฟท.ก็มีทั้งวิศวกร ทั้งผู้เชี่ยวชาญมากมาย แต่รัฐบาลเป็นคนก่อสร้างเองหมด
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้

แล้วให้กรมขนส่งทางรางคอยควบคุม ทั้งที่รฟท.มีความเชี่ยวชาญกว่า ส่วนเรื่องคุณภาพของรฟท.ในเรื่องของการให้บริการมันคนละส่วนกับวิศวกรรมควรให้วิศวะกรที่เชี่ยวชาญ ไปคอยควบคุมการก่อสร้าง ควบคุมมาตราฐานการให้บริการ มาตราฐานใบอนุญาติ ไปวิจัย และผลิตรถไฟ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้

เหมือที่จีน เขาก็มีกรมขนส่งทางราง แต่คนในกรมของเขาเป็นอาจาร เป็นผู้เชี่ยวชาญ มาออกมาตราฐาน มาควบคุม และในเรื่องที่กรมขนส่งทางรางออกมาทำให้รฟ.กลายเป็นผู้ประกอบการ(ผู้บริการ)รายหนึ่ง จึงควรแยกฝ่ายวิศวะกรไปรวมกับกรมขนส่งทางรางตามที่กล่าวไปด้ชานบน แล้วแยกรฟท.มาให้บริการอย่างเดียว ดังนั้นควรให้อิสระ รฟท. ในการประกอบการเพราะ รฟท.เป็นหน่วยงานของรัฐ แต่พอกรมขนส่งทางรางมาจึงทำให้รฟท.กลายเป็นผู้ประกอบการ แล้วเกิดการแข่งขันในการหากำไร จึงควรแก้ไขกฎรฟท.ให้เหมือนผู้ประกอบการรายอื่น เช่น มีการติดโฆษณาบนตู้โดยสารได้ เพื่อให้ได้กำไรมาพัฒนาองค์กรและบริการให้ดีขึ้นเพื่อให้แข่งขันได้

ปล.เรื่องกรมขนส่งทางรางมีมาแล้วก็ดี เหมือนญี่ปุ่นที่สมัยก่อนก็มีการรถไฟเหมือนบ้านเราแล้วก็เป็นหนี้จำนวนมากเหมือนบ้านเรา แล้วก็ได้มีการจัดตั้งองค์กรกลางมา แล้วให้เอกชนมาแข่งกันเดินรถแล้วทำให้เกิดการแข่งแล้วเกิดการให้บริการที่ดีจึงทำให้คนญี่ปุ่นในปัจจุบันนิยมนั่งรถไฟกันมาก
แก้ไขข้อความเมื่อ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่