ชาวธาตุพนม ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 12-15 คือชาติพันธุ์มอญ-เขมร เป็นชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำก่ำมานานหลายพันปี ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์มาแล้ว และเป็นช่วงเวลาที่ศิลปะวัฒนธรรมขอมก่อนพระนคร-ต้นพระนคร ทวารวดีอีสาน และจามกำลังเจริญรุ่งเรืองและมีการถ่ายโอนวัฒนธรรมระหว่างกันเรื่อยมาในช่วงเวลาดังกล่าว อีกทั้งภูมิศาสตร์ที่ตั้งของพระธาตุพนมนั้นอยู่ใกล้กำลำน้ำก่ำที่มีต้นกำเนิดจากหนองหานจังหวัดสกลนคร และแม่น้ำโขงซึ่งเป็นแม่น้ำสายหลักของชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงทำให้บริเวณแห่งนี้ได้รับการผสมผสานจาก 3 วัฒนธรรมหลัก อันเป็นวัฒนธรรมที่รับมาจากอินดียอีกทอดหนึ่ง ดังนั้นศิลปะวัฒนธรรมของชาวธาตุพนมในช่วงที่มีการสร้างพระธาตุพยม จึงมีกลิ่นอายของความเป็นอินเดียผสมผสานกับวัฒนธรรมดั้งเดิมคือความเป็นมอญ-เขมร ดังปรากฎในภาพสลักอิฐเรือนธาตุชั้นที่หนึ่งของพระธาตุพนม
ภาพที่ 1 การนุ่งผ้าของชาวธาตุพนมในช่วงพุทธศตวรรษที่ 12-15
ภาพที่ 2 ภาพอ้างอิง (หมายเลข 1 จากหน้าบันซุ้มประตูทิศตะวันตก, หมายเลข 2 ฐานพระธาตุ, หมายเลข 3 ขอบผนังเรือนธาตุทิศตะวันออกด้านซ้าย, หมายเลข 4 ขอบผนังเรือนธาตุทิศเหนือด้านขวา)
ภาพที่ 3 เครื่องประดับศรีษะของชาวธาตุพนมในช่วงพุทธศตวรรษที่ 12-15
ภาพที่ 4 ภาพวาดเครื่องประดับศรีษะของเทวดาและคน
ศิลปะพระธาตุพนม ตอน การแต่งกายของชาวธาตุพนม
ภาพที่ 1 การนุ่งผ้าของชาวธาตุพนมในช่วงพุทธศตวรรษที่ 12-15
ภาพที่ 2 ภาพอ้างอิง (หมายเลข 1 จากหน้าบันซุ้มประตูทิศตะวันตก, หมายเลข 2 ฐานพระธาตุ, หมายเลข 3 ขอบผนังเรือนธาตุทิศตะวันออกด้านซ้าย, หมายเลข 4 ขอบผนังเรือนธาตุทิศเหนือด้านขวา)
ภาพที่ 3 เครื่องประดับศรีษะของชาวธาตุพนมในช่วงพุทธศตวรรษที่ 12-15
ภาพที่ 4 ภาพวาดเครื่องประดับศรีษะของเทวดาและคน