1.
งานวิจัยล่าสุดได้บ่งชี้ว่า
ต้นกำเนิดและการสูญพันธุ์ของแรดขนาดใหญ่ยุคน้ำแข็ง
แรดที่มีขนยาวยักษ์ปุกปุย หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า
ยูนิคอร์นไซบีเรีย Siberian unicorn
เพราะพวกมันมีนอขนาดพิเศษเพียงอันเดียว
ทีมนักวิจัยจาก Adelaide Sydney London Netherlands และ Russia
ได้ร่วมกันอภิปรายวิพากษ์วิจารณ์และตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์ของยูนิคอร์นไซบีเรีย กับแรดที่ยังมีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน
และเชื่อว่าพวกมันรอดชีวิตมาได้มายาวนานกว่าที่เคยเชื่อ
ทั้งยังมีความสัมพันธ์และเกี่ยวเนื่องกับมนุษย์หินยุคเก่า
นักวิจัยได้ระบุว่า ยูนิคอร์นไซบีเรียได้สูญพันธุ์ไปแล้วประมาณ 36,000 ปีมาแล้ว
ในวารสาร
Nature Ecology and Evolution 26 พย.2018
เผยแพร่โดยพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติของกรุงลอนดอน
London's Natural History Museum
ทั้งนี้มีความเป็นไปได้เป็นอย่างมาก
เพราะผลจากพื้นที่ทุ่งหญ้า/ที่อยู่อาศัยบนที่ราบสูงลดลง
สาเหตุจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
มากกว่าผลจากการกระทำของมนุษย์
ทุกวันนี้มีแรดเพียง 5 สายพันธุ์ที่ยังมีชีวิตรอดอยู่
แต่ในอดีตสายพันธุ์ของแรดมีมากถึง 250 ชนิด
ยูนิคอร์นไซบีเรีย (
Elasmotherium sibiricum)
ซึ่งหนักถึง 3.5 ตันพร้อมกับนอขนาดใหญ่มหึมา
เคยเดินเล่นตามทุ่งหญ้าใน รัสเซีย คาซัคสถาน
มองโกเลียและทางตอนเหนือของจีน
เป็นภาพและเรื่องราวที่น่าประทับใจอย่างที่สุดอย่างหนึ่ง
น่าจะเป็นตำนานเรื่องราวผสมปนเปจนเป็นเรื่องม้ามีเขา ม้ายูนิคอร์น
การวิเคราะห์ผลทางพันธุกรรมที่ ศูนย์ดีเอ็นเอโบราณ
ของมหาวิทยาลัยแอดิเลด ออสเตรเลีย (ACAD)
University of Adelaide's Australian Centre for Ancient DNA (ACAD)
ได้รายงานผลว่า ยูนิคอร์นไซบีเรียเป็นสมาชิกรุ่นสุดท้าย
ของตระกูลแรดที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
" บรรพบุรุษของยูนิคอร์นได้แยกตัวออกจาก
บรรพบุรุษของแรดเดิมที่มีชีวิตมากกว่า 40 ล้านปีมาแล้ว
นั่นทำให้ยูนิคอร์นไซบีเรีย และแรดแอฟริกันสีขาว
เป็นญาติห่างไกลกันมากกว่า มนุษย์กับลิง
และนี่เป็นครั้งแรกที่ DNA ได้รับการกู้คืนมาจาก E. sibiricum "
Dr. Kieren Mitchell ผู้ร่วมตีพิมพ์งานวิจัยและนักวิจัย จาก ACAD
ผู้ซึ่งวิเคราะห์ DNA ของยูนิคอร์นไซบีเรียยูนิคอร์น ได้ให้สัมภาษณ์
หลักฐานทางพันธุกรรมครั้งใหม่นี้
ได้ล้มล้างผลการศึกษาก่อนหน้านี้
ที่ระบุว่า ยูนิคอร์นไซบีเรียเป็นญาติสนิทของ Woolly rhino
และ
กระซู่/แรดสุมาตรา Sumatran rhinoceros
ที่ยังคงเหลืออยู่แต่มีจำนวนน้อยมาก
2.
ก่อนหน้านี้ นานมาแล้วมีการสันนิษฐานว่า
ยูนิคอร์นไซบีเรียได้สูญพันธุ์ไปก่อนยุคน้ำแข็ง
ซึ่งครั้งสุดท้ายอาจเป็นช่วง 200,000 ปีก่อน
แต่ผลจากการศึกษาจากกระดูกยูนิคอร์นไซบีเรียจำนวน 23 ตัวอย่าง
ยืนยันได้ว่าสายพันธุ์พวกมันมีการสืบทอดรอดชีวิตได้จนถึงอย่างน้อย 39,000 ปีที่ผ่านมา
และอาจจะเป็นช่วง 35,000 ปีก่อนที่ยูนิคอร์นไซบีเรียตัวสุดท้าย
จะถูกนำมาเป็นอาหารของ
มนุษย์ยุคหินเก่า และมนุษย์
Neanderthals
หมายเหตุ
แหล่งขุดค้นของโบราณ
มักจะเริ่มต้นตามถ้ำที่พักคนป่า
หลุมฝังศพมนุษย์ยุคโบราณ
ในหนองน้ำเก่าที่กลายสภาพเป็นกองดิน
หรือในหลุมขุดค้นโบราณคดีที่มั่นหมาย
ประเภทกระดูกสัตว์ที่พบตามถ้ำ/หลุมฝังศพ
มักจะมีร่องรอยฟันกัดแทะ
รอยแตกหักเพราะถูกทุบด้วยของหนัก
คาดว่าเพื่อต้องการกิน
ไขกระดูก
มีลักษณะเป็นของเหลวคล้ายวุ้น
ทุกวันนี้ ยังมีบางคนชอบดูดกิน/ทุบเพื่อดูดไขกระดูก
จากกระดูกหมูพะโล้/กระดูกวัวต้มเครื่องใน
การแยกแยะดูประเภทสัตว์ ใช้ขนาด รูพรุนกระดูก DNA โดยผู้เขี่ยวชาญ
แล้วตรวจวัดอายุตามหลักวิทยาการคาร์บอน
" เรื่องนี้จึงไม่น่าเป็นไปได้ว่า
การปรากฏตัวของมนุษย์เป็นสาเหตุของการสูญพันธุ์
ยูนิคอร์นไซบีเรียดูเหมือนว่าจะได้รับผลกระทบอย่างแรง
จากการเริ่มต้นยุคน้ำแข็งในยูเรเซีย
เมื่ออุณหภูมิที่หนาวเย็นขึ้นส่งผลให้พื้นที่ดินกลายเป็นดินเย็นจัด
พื้นดินแข็งขึ้นทำให้แห้งแล้ง หญ้ากลายเป็นหญ้าแห้ง/ทุ่งหญ้าแห้งแล้ง
ส่งผลกระทบต่อประชากรแรดจำนวนมากบนพื้นที่อย่างกว้างใหญ่
(เพราะขาดแคลนหญ้าสดที่ใช้เป็นอาหารหลัก) "
ศาสตราจารย์ Chris Turney ผู้เขียนงานวิจัยร่วม
นักวิทยาศาสตร์ด้านสภาพภูมิอากาศ University of New South Wales ตั้งข้อสังเกต
แต่แรดสายพันธุ์อื่น ๆ ที่มีได้รับผลกระทบจากสภาพแวดล้อม/สภาพภูมิอากาศ
จะแตกต่างกับยูนิคอร์นไซบีเรีย เพราะพวกมันไม่ได้พึ่งพาหญ้าเพียงอย่างเดียว
อย่างเช่น Woolly rhino หรือสายพันธุ์แรดที่กินอาหารได้หลากหลายกว่า
เหมือนกับ
Saiga antelope
หรือพวกสายพันธุ์แรดที่หลบหนีชะตากรรมไม่ยอมอยู่ที่เดิมแบบยูนิคอร์นไซบีเรีย
เหมือนกับ Woolly rhino ที่สูญพันธุ์หลังจากนั้นในช่วง 20,000 ปีต่อมา
เรียบเรียง/ที่มา
https://bit.ly/2TQqi8Y
3.
https://go.nature.com/2TMMj8P
4.
https://bit.ly/2zqmH8X
5.
ขากรรไกรล่าง Moscow mandible ตัวอย่างตันแบบ E. sibiricum
การฟื้นฟูสภาพเดิมครั้งแรกที่ตีพิมพ์ (1878) E. sibiricum
โดย Rashevsky ภายใต้การควบคุมดูแลของ A.F. Brant
6.
ขนาดของแรด Elasmotherium (สีเทา) เปรียบเทียบกับขนาดมนุษย์และแรดชนิดอื่น
7.
สภาพลำตัว(จำลอง) ของ E. sibiricum
8.
E. sibiricum ถอดพิมพ์แบบกะโหลก ที่ Museum für Naturkunde, Berlin
9.
ศิลปะยุค Paleolithic จากถ้ำ Rouffignac Cave ใน France มีข้อสรุปว่าพื้นฐานคือนอเดียว
วาดภาพ Elasmotherium โดย Schaurte ในปี 1964 และมีการจำลอง/ถอดแบบซ้ำโดย N. Spassov ในปี 2001
ถ้าเรื่องนี้ถูกต้อง ข้อสรุปว่าเคยมียูนิคอร์นไซบีเรียกระจายทั่วยุโรปตะวันตก Western Europe.
10.
E. sibiricum สภาพจำลอง
11.
E. caucasicum
12.
ที่ถ้ำ Chauvet งานวาดศิลป์แรด Woolly rhinoceros
13.
การแสดงสภาพมัมมี่ Starunia ที่ Natural History Museum ใน London
14.
สภาพจำลองแรด Woolly rhinoceros
15.
Woolly rhinoceros ศีรษะ ขา และนอ จาก Siberia ในปี 1849
16.
Woolly rhinoceros, ช้าง woolly mammoths, เสือถ้ำ cave lions และฝูง
Equus lambei
ช่วงปลายยุค Pleistocene ตอนเหนือของ Spain โดย Mauricio Antón
17.
Saiga antelope การจำลองแบบและขึ้นรูปจัดแสดงที่ Museum of Osteology
18.
เพศเมีย Male saiga
19.
Saiga ในด้านตะวันตกของ Kazakhstan, 2017
20.
ฝูง Saiga ที่ถูกสตัฟจัดแสดงที่ Museum of Zoology, St. Petersburg
21.
ผลิตภัณฑ์ยาตัวอย่างจาก Saiga ของรัฐบาล Hong Kong
22.
23.
Unicorn
เบื้องหลังข่าวการฆ่าแรดดำ
แรดน้อยกำพร้าแม่ไม่กล้านอนตามลำพัง
Snuggle time with endagered baby Rhino Gertjie
สมัน สัตว์ป่าที่สูญพันธุ์หายไปจากไทยแล้ว
สมัน ฉมัน เนื้อสมัน กวางเขาสุ่ม (อังกฤษ: Schomburgk's deer)
เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกสัตว์กีบคู่ชนิดหนึ่ง
มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า
Rucervus schomburgki
สมันเป็นกวางขนาดกลาง ขนตามลำตัวสีน้ำตาลเข้ม
ท้องมีสีอ่อนกว่า ริมฝีปากล่างและด้านล่างของหางเป็นสีขาว
มีลักษณะเด่นคือ ตัวผู้จะมีเขาแตกแขนงออกไปมากมายเหมือนกิ่งไม้ ดูสวยงาม
จึงได้ชื่อว่าเป็นกวางที่มีเขาสวยที่สุดในโลก
มีกิ่งรับหมาหรือกิ่งเขาที่ยื่นออกไปข้างหน้ายาวกว่ากิ่งรับหมาของกวางชนิดอื่น ๆ
สมันมีความยาวลำตัว 180 เซนติเมตร ความยาวหาง 10 เซนติเมตร
มีความสูงจากพื้นดินถึงหัวไหล่ 100-110 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 100-120 กิโลกรัม
สมันนั้นวิ่งเร็วประมาณ 100 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง
สมันมีการกระจายพันธุ์เฉพาะในที่ราบลุ่มภาคกลางของไทยเท่านั้น
สมันเคยมีผู้พบเห็นในทุ่งพญาไท แถวจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปัจจุบัน
ตามบันทึกความทรงจำของเจ้านายไทยในรัชกาลที่ 5-6
สมันอาศัยอยู่ในที่ทุ่งโล่งกว้าง ไม่สามารถหลบหนีเข้าป่าทึบได้
เพราะกิ่งก้านของเขาจะไปติดพันกับกิ่งไม้
จึงเป็นจุดอ่อนให้ถูกล่าได้อย่างง่ายดาย
ในสมัยอดีต ชาวบ้านจะล่าสมันด้วยการสวมเขาปลอม
เพื่อหลอกว่าเป็นตัวผู้เพื่อล่อตัวเมียออกมา
จากนั้นจึงใช้ปืนหรือหอกพุ่งยิง
ปัจจุบัน สมันสูญพันธุ์แล้ว
สมันในธรรมชาติตัวสุดท้าย
ถูกนายตำรวจคนหนึ่งยิงตายเมื่อ พ.ศ. 2475 ที่จังหวัดกาญจนบุรี
สมันในที่เลี้ยงตัวสุดท้าย
ถูกชายขี้เมาตีตายเมื่อ พ.ศ. 2481 ที่วัดแห่งหนึ่งในตำบลมหาชัย จังหวัดสมุทรสาคร
ในปี พ.ศ. 2534 มีรายงานว่าพบซากเขาสมันสดขายในร้านขายยา
ใจกลางเมืองพงสาลี และแขวงหลวงพระบาง ทางภาคเหนือของลาว
ทำให้สันนิษฐานว่าอาจจะมีสมันหลงเหลืออยู่ในประเทศลาวก็เป็นได้
แต่เรื่องนี้ยังไม่มีหลักฐานยืนยันเพียงพอ
โดยที่ทั้งชื่อสามัญในภาษาอังกฤษและชื่อวิทยาศาสตร์ของสมัน
ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่
เซอร์โรเบิร์ต แฮร์มันน์ โชมบวร์ก
ผู้เป็นกงสุลอังกฤษประจำราชอาณาจักรสยาม
ที่นำสมันเข้าไปเผยแพร่ในยุโรปเป็นคนแรก
Robert Hermann Schomburgk
ที่มา
https://bit.ly/2aCC3c3
ยูนิคอร์นไซบีเรียสูญพันธุ์เพราะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
งานวิจัยล่าสุดได้บ่งชี้ว่า
ต้นกำเนิดและการสูญพันธุ์ของแรดขนาดใหญ่ยุคน้ำแข็ง
แรดที่มีขนยาวยักษ์ปุกปุย หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า
ยูนิคอร์นไซบีเรีย Siberian unicorn
เพราะพวกมันมีนอขนาดพิเศษเพียงอันเดียว
ทีมนักวิจัยจาก Adelaide Sydney London Netherlands และ Russia
ได้ร่วมกันอภิปรายวิพากษ์วิจารณ์และตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์ของยูนิคอร์นไซบีเรีย กับแรดที่ยังมีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน
และเชื่อว่าพวกมันรอดชีวิตมาได้มายาวนานกว่าที่เคยเชื่อ
ทั้งยังมีความสัมพันธ์และเกี่ยวเนื่องกับมนุษย์หินยุคเก่า
นักวิจัยได้ระบุว่า ยูนิคอร์นไซบีเรียได้สูญพันธุ์ไปแล้วประมาณ 36,000 ปีมาแล้ว
ในวารสาร Nature Ecology and Evolution 26 พย.2018
เผยแพร่โดยพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติของกรุงลอนดอน
London's Natural History Museum
ทั้งนี้มีความเป็นไปได้เป็นอย่างมาก
เพราะผลจากพื้นที่ทุ่งหญ้า/ที่อยู่อาศัยบนที่ราบสูงลดลง
สาเหตุจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
มากกว่าผลจากการกระทำของมนุษย์
ทุกวันนี้มีแรดเพียง 5 สายพันธุ์ที่ยังมีชีวิตรอดอยู่
แต่ในอดีตสายพันธุ์ของแรดมีมากถึง 250 ชนิด
ยูนิคอร์นไซบีเรีย (Elasmotherium sibiricum)
ซึ่งหนักถึง 3.5 ตันพร้อมกับนอขนาดใหญ่มหึมา
เคยเดินเล่นตามทุ่งหญ้าใน รัสเซีย คาซัคสถาน
มองโกเลียและทางตอนเหนือของจีน
เป็นภาพและเรื่องราวที่น่าประทับใจอย่างที่สุดอย่างหนึ่ง
น่าจะเป็นตำนานเรื่องราวผสมปนเปจนเป็นเรื่องม้ามีเขา ม้ายูนิคอร์น
การวิเคราะห์ผลทางพันธุกรรมที่ ศูนย์ดีเอ็นเอโบราณ
ของมหาวิทยาลัยแอดิเลด ออสเตรเลีย (ACAD)
University of Adelaide's Australian Centre for Ancient DNA (ACAD)
ได้รายงานผลว่า ยูนิคอร์นไซบีเรียเป็นสมาชิกรุ่นสุดท้าย
ของตระกูลแรดที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
" บรรพบุรุษของยูนิคอร์นได้แยกตัวออกจาก
บรรพบุรุษของแรดเดิมที่มีชีวิตมากกว่า 40 ล้านปีมาแล้ว
นั่นทำให้ยูนิคอร์นไซบีเรีย และแรดแอฟริกันสีขาว
เป็นญาติห่างไกลกันมากกว่า มนุษย์กับลิง
และนี่เป็นครั้งแรกที่ DNA ได้รับการกู้คืนมาจาก E. sibiricum "
Dr. Kieren Mitchell ผู้ร่วมตีพิมพ์งานวิจัยและนักวิจัย จาก ACAD
ผู้ซึ่งวิเคราะห์ DNA ของยูนิคอร์นไซบีเรียยูนิคอร์น ได้ให้สัมภาษณ์
หลักฐานทางพันธุกรรมครั้งใหม่นี้
ได้ล้มล้างผลการศึกษาก่อนหน้านี้
ที่ระบุว่า ยูนิคอร์นไซบีเรียเป็นญาติสนิทของ Woolly rhino
และ กระซู่/แรดสุมาตรา Sumatran rhinoceros
ที่ยังคงเหลืออยู่แต่มีจำนวนน้อยมาก
ก่อนหน้านี้ นานมาแล้วมีการสันนิษฐานว่า
ยูนิคอร์นไซบีเรียได้สูญพันธุ์ไปก่อนยุคน้ำแข็ง
ซึ่งครั้งสุดท้ายอาจเป็นช่วง 200,000 ปีก่อน
แต่ผลจากการศึกษาจากกระดูกยูนิคอร์นไซบีเรียจำนวน 23 ตัวอย่าง
ยืนยันได้ว่าสายพันธุ์พวกมันมีการสืบทอดรอดชีวิตได้จนถึงอย่างน้อย 39,000 ปีที่ผ่านมา
และอาจจะเป็นช่วง 35,000 ปีก่อนที่ยูนิคอร์นไซบีเรียตัวสุดท้าย
จะถูกนำมาเป็นอาหารของ มนุษย์ยุคหินเก่า และมนุษย์ Neanderthals
หมายเหตุ
แหล่งขุดค้นของโบราณ
มักจะเริ่มต้นตามถ้ำที่พักคนป่า
หลุมฝังศพมนุษย์ยุคโบราณ
ในหนองน้ำเก่าที่กลายสภาพเป็นกองดิน
หรือในหลุมขุดค้นโบราณคดีที่มั่นหมาย
ประเภทกระดูกสัตว์ที่พบตามถ้ำ/หลุมฝังศพ
มักจะมีร่องรอยฟันกัดแทะ
รอยแตกหักเพราะถูกทุบด้วยของหนัก
คาดว่าเพื่อต้องการกิน ไขกระดูก
มีลักษณะเป็นของเหลวคล้ายวุ้น
ทุกวันนี้ ยังมีบางคนชอบดูดกิน/ทุบเพื่อดูดไขกระดูก
จากกระดูกหมูพะโล้/กระดูกวัวต้มเครื่องใน
การแยกแยะดูประเภทสัตว์ ใช้ขนาด รูพรุนกระดูก DNA โดยผู้เขี่ยวชาญ
แล้วตรวจวัดอายุตามหลักวิทยาการคาร์บอน
" เรื่องนี้จึงไม่น่าเป็นไปได้ว่า
การปรากฏตัวของมนุษย์เป็นสาเหตุของการสูญพันธุ์
ยูนิคอร์นไซบีเรียดูเหมือนว่าจะได้รับผลกระทบอย่างแรง
จากการเริ่มต้นยุคน้ำแข็งในยูเรเซีย
เมื่ออุณหภูมิที่หนาวเย็นขึ้นส่งผลให้พื้นที่ดินกลายเป็นดินเย็นจัด
พื้นดินแข็งขึ้นทำให้แห้งแล้ง หญ้ากลายเป็นหญ้าแห้ง/ทุ่งหญ้าแห้งแล้ง
ส่งผลกระทบต่อประชากรแรดจำนวนมากบนพื้นที่อย่างกว้างใหญ่
(เพราะขาดแคลนหญ้าสดที่ใช้เป็นอาหารหลัก) "
ศาสตราจารย์ Chris Turney ผู้เขียนงานวิจัยร่วม
นักวิทยาศาสตร์ด้านสภาพภูมิอากาศ University of New South Wales ตั้งข้อสังเกต
แต่แรดสายพันธุ์อื่น ๆ ที่มีได้รับผลกระทบจากสภาพแวดล้อม/สภาพภูมิอากาศ
จะแตกต่างกับยูนิคอร์นไซบีเรีย เพราะพวกมันไม่ได้พึ่งพาหญ้าเพียงอย่างเดียว
อย่างเช่น Woolly rhino หรือสายพันธุ์แรดที่กินอาหารได้หลากหลายกว่า
เหมือนกับ Saiga antelope
หรือพวกสายพันธุ์แรดที่หลบหนีชะตากรรมไม่ยอมอยู่ที่เดิมแบบยูนิคอร์นไซบีเรีย
เหมือนกับ Woolly rhino ที่สูญพันธุ์หลังจากนั้นในช่วง 20,000 ปีต่อมา
เรียบเรียง/ที่มา
https://bit.ly/2TQqi8Y
3.
https://go.nature.com/2TMMj8P
4.
https://bit.ly/2zqmH8X
5.
ขากรรไกรล่าง Moscow mandible ตัวอย่างตันแบบ E. sibiricum
การฟื้นฟูสภาพเดิมครั้งแรกที่ตีพิมพ์ (1878) E. sibiricum
โดย Rashevsky ภายใต้การควบคุมดูแลของ A.F. Brant
6.
ขนาดของแรด Elasmotherium (สีเทา) เปรียบเทียบกับขนาดมนุษย์และแรดชนิดอื่น
7.
สภาพลำตัว(จำลอง) ของ E. sibiricum
8.
E. sibiricum ถอดพิมพ์แบบกะโหลก ที่ Museum für Naturkunde, Berlin
9.
ศิลปะยุค Paleolithic จากถ้ำ Rouffignac Cave ใน France มีข้อสรุปว่าพื้นฐานคือนอเดียว
วาดภาพ Elasmotherium โดย Schaurte ในปี 1964 และมีการจำลอง/ถอดแบบซ้ำโดย N. Spassov ในปี 2001
ถ้าเรื่องนี้ถูกต้อง ข้อสรุปว่าเคยมียูนิคอร์นไซบีเรียกระจายทั่วยุโรปตะวันตก Western Europe.
10.
E. sibiricum สภาพจำลอง
11.
E. caucasicum
12.
ที่ถ้ำ Chauvet งานวาดศิลป์แรด Woolly rhinoceros
13.
การแสดงสภาพมัมมี่ Starunia ที่ Natural History Museum ใน London
14.
สภาพจำลองแรด Woolly rhinoceros
15.
Woolly rhinoceros ศีรษะ ขา และนอ จาก Siberia ในปี 1849
16.
Woolly rhinoceros, ช้าง woolly mammoths, เสือถ้ำ cave lions และฝูง Equus lambei
ช่วงปลายยุค Pleistocene ตอนเหนือของ Spain โดย Mauricio Antón
17.
Saiga antelope การจำลองแบบและขึ้นรูปจัดแสดงที่ Museum of Osteology
18.
เพศเมีย Male saiga
19.
Saiga ในด้านตะวันตกของ Kazakhstan, 2017
20.
ฝูง Saiga ที่ถูกสตัฟจัดแสดงที่ Museum of Zoology, St. Petersburg
21.
ผลิตภัณฑ์ยาตัวอย่างจาก Saiga ของรัฐบาล Hong Kong
22.
23.
Unicorn
เบื้องหลังข่าวการฆ่าแรดดำ
แรดน้อยกำพร้าแม่ไม่กล้านอนตามลำพัง
Snuggle time with endagered baby Rhino Gertjie
สมัน สัตว์ป่าที่สูญพันธุ์หายไปจากไทยแล้ว
สมัน ฉมัน เนื้อสมัน กวางเขาสุ่ม (อังกฤษ: Schomburgk's deer)
เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกสัตว์กีบคู่ชนิดหนึ่ง
มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rucervus schomburgki
สมันเป็นกวางขนาดกลาง ขนตามลำตัวสีน้ำตาลเข้ม
ท้องมีสีอ่อนกว่า ริมฝีปากล่างและด้านล่างของหางเป็นสีขาว
มีลักษณะเด่นคือ ตัวผู้จะมีเขาแตกแขนงออกไปมากมายเหมือนกิ่งไม้ ดูสวยงาม
จึงได้ชื่อว่าเป็นกวางที่มีเขาสวยที่สุดในโลก
มีกิ่งรับหมาหรือกิ่งเขาที่ยื่นออกไปข้างหน้ายาวกว่ากิ่งรับหมาของกวางชนิดอื่น ๆ
สมันมีความยาวลำตัว 180 เซนติเมตร ความยาวหาง 10 เซนติเมตร
มีความสูงจากพื้นดินถึงหัวไหล่ 100-110 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 100-120 กิโลกรัม
สมันนั้นวิ่งเร็วประมาณ 100 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง
สมันมีการกระจายพันธุ์เฉพาะในที่ราบลุ่มภาคกลางของไทยเท่านั้น
สมันเคยมีผู้พบเห็นในทุ่งพญาไท แถวจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปัจจุบัน
ตามบันทึกความทรงจำของเจ้านายไทยในรัชกาลที่ 5-6
สมันอาศัยอยู่ในที่ทุ่งโล่งกว้าง ไม่สามารถหลบหนีเข้าป่าทึบได้
เพราะกิ่งก้านของเขาจะไปติดพันกับกิ่งไม้
จึงเป็นจุดอ่อนให้ถูกล่าได้อย่างง่ายดาย
ในสมัยอดีต ชาวบ้านจะล่าสมันด้วยการสวมเขาปลอม
เพื่อหลอกว่าเป็นตัวผู้เพื่อล่อตัวเมียออกมา
จากนั้นจึงใช้ปืนหรือหอกพุ่งยิง
ปัจจุบัน สมันสูญพันธุ์แล้ว
สมันในธรรมชาติตัวสุดท้าย
ถูกนายตำรวจคนหนึ่งยิงตายเมื่อ พ.ศ. 2475 ที่จังหวัดกาญจนบุรี
สมันในที่เลี้ยงตัวสุดท้าย
ถูกชายขี้เมาตีตายเมื่อ พ.ศ. 2481 ที่วัดแห่งหนึ่งในตำบลมหาชัย จังหวัดสมุทรสาคร
ในปี พ.ศ. 2534 มีรายงานว่าพบซากเขาสมันสดขายในร้านขายยา
ใจกลางเมืองพงสาลี และแขวงหลวงพระบาง ทางภาคเหนือของลาว
ทำให้สันนิษฐานว่าอาจจะมีสมันหลงเหลืออยู่ในประเทศลาวก็เป็นได้
แต่เรื่องนี้ยังไม่มีหลักฐานยืนยันเพียงพอ
โดยที่ทั้งชื่อสามัญในภาษาอังกฤษและชื่อวิทยาศาสตร์ของสมัน
ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ เซอร์โรเบิร์ต แฮร์มันน์ โชมบวร์ก
ผู้เป็นกงสุลอังกฤษประจำราชอาณาจักรสยาม
ที่นำสมันเข้าไปเผยแพร่ในยุโรปเป็นคนแรก
Robert Hermann Schomburgk
ที่มา https://bit.ly/2aCC3c3