ลิงอาศัยอยู่ในป่าใหญ่ (ลิง=จิต : ป่าใหญ่=อารมณ์)
อายตนะภายนอก หรือ อารมณ์ทั้งหมดที่จิตรู้ได้มี 6 อารมณ์
1.รูปารมณ์ ซึ่งรู้ได้ ทางตา เท่านั้น สิ่งที่เห็นทางตา หรือ สี
แต่สิ่งที่ต้องรู้คือว่า เป็นสภาพธรรม ที่ปรากฏทางตา เท่านั้น
สิ่งที่ปรากฏทางตาไม่ใช่วัตถุสิ่งของหรือบุคคลดังที่เราคิด
เมื่อเราคิดว่าสิ่งที่เห็นเป็นต้นไม้ เป็นสัตว์ หรือเป็นคน
เราคิดถึงบัญญัติของสิ่งที่เห็น แต่ไม่ใช่การรู้สิ่งที่ปรากฏทางตา
2. สัททารมณ์ คือ เสียง
3. คันธารมณ์ คือ กลิ่น
4. รสารมณ์ คือ รส
5.โผฏฐัพพารมณ์ คือ อารมณ์ ที่สามารถรู้ได้ ทางกาย
6.ธัมมารมณ์ ได้แก่ อารมณ์ทั้งหมดที่ไม่ใช่อารมณ์ 5
ธัมมารมณ์ สามารถรู้ได้ ทางมโนทวารเท่านั้น
ลิงมีจิตอยู่ในกายคือมหาภูตรูป4 มี
อายตนะภายใน 6 อายตนะภายใน 6 ได้แก่ ทวาร 6 ซึ่งเป็นทางรู้อารมณ์ที่ปรากฏ
และอายตนะภายนอก 6 อายตนะภายนอก 6 ได้แก่ อารมณ์ 6 ซึ่งรู้ได้ทางทวาร 6
เกิดวิญญาณ 6
ซึ่งเกิดขึ้นโดยอาศัยทวาร 6
และอารมณ์ที่ปรากฏทางทวาร 6
เกิดผัสสะ 6
เวทนา 6 อันเกิดจากผัสสะ 6
ตัณหา 6 อันเกิดจากเวทนา 6
จึงเป็นธรรม 6 และ
6 คือหมวด 6 ของธรรม 6 ประเภท
ตัณหา 6 ทำให้เกิด อุปาทานขันธ์
อุปาทานขันธ์ ขันธ์ที่ประกอบด้วยอุปาทาน ได้แก่
เบญจขันธ์หรือขันธ์ ๕
ที่ประกอบด้วยอุปาทาน
คือ รูป, เวทนา, สัญญา, สังขาร, วิญญาณที่ประกอบด้วยอาสวะ,
ซึ่งมีชื่อเรียกเฉพาะว่า
รูปูปาทานขันธ์,
เวทนูปาทานขันธ์,
สัญญูปาทานขันธ์,
สังขารูปาทานขันธ์
วิญญาณูปาทานขันธ์
ลิงเกิดอารมณ์
อายตนะภายนอก หรือ อารมณ์ทั้งหมดที่จิตรู้ได้มี 6 อารมณ์
1.รูปารมณ์ ซึ่งรู้ได้ ทางตา เท่านั้น สิ่งที่เห็นทางตา หรือ สี
แต่สิ่งที่ต้องรู้คือว่า เป็นสภาพธรรม ที่ปรากฏทางตา เท่านั้น
สิ่งที่ปรากฏทางตาไม่ใช่วัตถุสิ่งของหรือบุคคลดังที่เราคิด
เมื่อเราคิดว่าสิ่งที่เห็นเป็นต้นไม้ เป็นสัตว์ หรือเป็นคน
เราคิดถึงบัญญัติของสิ่งที่เห็น แต่ไม่ใช่การรู้สิ่งที่ปรากฏทางตา
2. สัททารมณ์ คือ เสียง
3. คันธารมณ์ คือ กลิ่น
4. รสารมณ์ คือ รส
5.โผฏฐัพพารมณ์ คือ อารมณ์ ที่สามารถรู้ได้ ทางกาย
6.ธัมมารมณ์ ได้แก่ อารมณ์ทั้งหมดที่ไม่ใช่อารมณ์ 5
ธัมมารมณ์ สามารถรู้ได้ ทางมโนทวารเท่านั้น
ลิงมีจิตอยู่ในกายคือมหาภูตรูป4 มี
อายตนะภายใน 6 อายตนะภายใน 6 ได้แก่ ทวาร 6 ซึ่งเป็นทางรู้อารมณ์ที่ปรากฏ
และอายตนะภายนอก 6 อายตนะภายนอก 6 ได้แก่ อารมณ์ 6 ซึ่งรู้ได้ทางทวาร 6
เกิดวิญญาณ 6
ซึ่งเกิดขึ้นโดยอาศัยทวาร 6
และอารมณ์ที่ปรากฏทางทวาร 6
เกิดผัสสะ 6
เวทนา 6 อันเกิดจากผัสสะ 6
ตัณหา 6 อันเกิดจากเวทนา 6
จึงเป็นธรรม 6 และ
6 คือหมวด 6 ของธรรม 6 ประเภท
ตัณหา 6 ทำให้เกิด อุปาทานขันธ์
อุปาทานขันธ์ ขันธ์ที่ประกอบด้วยอุปาทาน ได้แก่
เบญจขันธ์หรือขันธ์ ๕
ที่ประกอบด้วยอุปาทาน
คือ รูป, เวทนา, สัญญา, สังขาร, วิญญาณที่ประกอบด้วยอาสวะ,
ซึ่งมีชื่อเรียกเฉพาะว่า
รูปูปาทานขันธ์,
เวทนูปาทานขันธ์,
สัญญูปาทานขันธ์,
สังขารูปาทานขันธ์
วิญญาณูปาทานขันธ์