ตายเกิด ตายสูญ สมัยพุทธกาล เนื่องกับ ไม่ได้สดับ ธรรมของพระองค์ ฯ โดยเฉพาะ
(๑) ธรรม ๔ ประการที่ใครค้านไม่ได้ (ธาตุ ๖/ ผัสสายตนะ ๖/ มโนปวิจาร ๑๘/ อริยสัจ๔)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ขันธ์ ๕ กำหนดตามพระสุตร ที่ตรัสไว้ว่า
มหาภูติ(ธาต) ๔ ________________ เป็นเหตุปัจจัย เพื่อการบัญญัติ รูปขันธ์ (ไม่ขัดกับ ที่ตรัสว่า บุรุษนี้ประกอบอยู่ด้วยธาตุ ๖)
ผัสสะ ________________ เป็นเหตุปัจจัย เพื่อการบัญญัติ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ (โดยเฉพาะ เจตนา คือสัญเจตนา)
นามรูป ________________ เป็นเหตุปัจจัย เพื่อการบัญยัติ วิญญาณขันธ์
ธาตุ ๖ ________________ รูปธาตุ ๔ อันวิญญาณธาตุอาสัยแล้ว + ช่องว่างธาตุ + วิญญาณธาตุ
ผัสสายตนะ ๖ ________________ ตา หู จมูก ลิ้น กาย มโน (ทวาร_มนายตนะ) ที่ทำกิจ กระทบ (ผัสสะ ๒ ตามมหานิทานสูตร)
มโนปวิจาร ๑๘ ________________ มโนธาตุ ท่องเที่ยวไปใน เวทนา ๓ ทางมโนทวาร (โสมนัส โทมนัส อุเบกขา) ทาง อายตนะ ๖
(ผัสสายตนะ เนื่องกับ อายตนะสัมผัสสชาเวทนา ทางมโนทวาร)
เป็นเหตุปัจจัยให้เกิด อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ (พระสูตรที่ ๕ อัตตทีปวรรค ขันธ์สังยุตต์ ขนฺธ สํ ๑๗/๕๗/๙๔ ปฏิจจฯ หน้า ๑๖๓)
เพราะยังมีจิต ปักฝังลงไป (อนุเสติ) ในสิ่งนั้น เพราะ การสำคัญเห็น ซึ่งขันธ์ทั้ง ๕ โดยความเป็นตน (หรือปรมัตถ์ ๔_ เพราะยังมีอวิชชา) บ้าง/ โดยสำคัญเห็นซึ่งตนว่ามีขันธ์ท้ง ๕ (หรือปรมัตถ์)บ้าง / สำคัญเห็นขันธ์ทั้ง ๕ ในตน (หรือปรมัตถ์) บ้าง/ ย่อมสำคัญเห็นซึ่งตนในขันธ์ทั้ง ๕ (หรือปรมัตถ์)บ้าง
^^^^
เพราะไม่ได้ สดับ พระพุทธภาษิตที่ตรัสว่า
___ "เมื่อสำคัญเห็น" (ธาตุ อายตนะ ขันธ์ทั้ง ๕ รวมทั้ง ปรมัตถ์) ก็ย่อม สำคัญเห็น ซึ่ง "ตน (หรือปรมัตถ์) มีอย่างต่างๆ (๔ อย่างคือ โดยความเป็นตน (หรือปรมัตถ์ ๔_ เพราะยังมีอวิชชา) บ้าง/ โดยสำคัญเห็นซึ่งตนว่ามีขันธ์ท้ง ๕ (หรือปรมัตถ์)บ้าง / สำคัญเห็นขันธ์ทั้ง ๕ ในตน (หรือปรมัตถ์) บ้าง/ ย่อมสำคัญเห็นซึ่งตนในขันธ์ทั้ง ๕ (หรือปรมัตถ์)บ้าง = ย่อมสำคัญเห็นซึ่ง อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ บ้าง หรือว่า ย่อมสำคัญเห็นซึ่งอุปาทานขันธ์ใดขั้นธ์หนึ่ง ในบรรดาอุปาทานขันธ์ทั้ง ๕เหล่านั้น
สรุป
เพราะ สำคัญเห็น (ผิด) จึงมี มีนันทิความเพลินในขันธ์ทั้ง ๕ หรือขันธ์ใดขันธ์หนึ่ง= นันทิคืออุปาทาน________เหตุ เกิดผล ตามที่ตรัสว่า
เมื่อสำคัญเห็น (ว่ามีอัตตา ที่ขันธ์ทั้ง ๕ (หรือที่ปรมัตถ์) มี ๔ อาการนั้น = มีจิตอนุเสติลงไป (ทางมโนทวาร) แล้ว
อาการ ทางมโนทวาร (ใจ) ตามคำว่า ____"
อธิคตัง" ___ (แปลว่า การถึงทับจับฉวย _____ ลิงจับกิ่งไม้ ตามอัสสุตวตาสูตร) ของอัตตภาพนั้น
ว่า "เรา (อัตตา หรือปรมัตถ์) ก็มีอยู่ด้วย (อย่าง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ด้วย)
________เหตุ เกิดผล ตามที่ตรัสว่า
เมื่อภิกษุนั้น อธิคตัง [ถึงทับจับฉวย _ ลิงจับกิ่งไม้] (ว่า) เรามีอยู่ (อสฺมีติ)
ลำดับนั้น
การก้าวลงแห่งอินทรีย์ (๕) คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ก็ ย่อมมี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
มโน (มนินทรีย์) มีอยู่ ธรรมทั้งหลายมีอยู่ อวิชชา
ธาตุ มีอยู่
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
เมื่อปุถุชน
(คือภิกษุรูปใด หรือ อื่นจากภิกษุทั้งหลาย _____
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ธาตุ ๖ ใช่ไหม?
ผู้ไม่ได้สดับแล้ว _____ ตามที่ตรัส
_____
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ดู จิตนี้ประภัสสร /ความต่างระหว่างปุถุขน กับ อริยสาวกผู้มีการสดับ
เป็นผู้อัน
เวทนาอันเกิดจาก อวิชชาสัมผัสถูกต้องแล้ว ____
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ผัสสายตนะ ๖ ใช่ไหม?
อธิคตัง (การถึงทับจับฉวย) ______________
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้เกิด อัตตวาทุปาทาน ขึ้น (อุปาทานนี้ มีในธรรมวินัยนี้ ฯ) หรือไม่?
ว่า เรา (อัตตา/ปรมัตถ์) มีอยู่ ______________ (อสฺมีติ) ดังนี้บ้าง
ว่า นี่ (อันนา/ปรมัตถ์) เป็นเรา _____________ (อยมหมสฺมีติ) ดังนี้บ้าง
ว่า เรา (โดยปรมัตถ์) จักมี ______________ (ภวิสฺสํอิติ) ดังนี้บ้าง
ว่า เรา (โดยปรมัตถ์) จักไม่มี ______________ น ภวิส์สํอิติ) ดังนี้บ้าง
ย่อมมีแก่เขา _____________ (ผู้ปุถุชน ที่ไม่ได้สดับ พระพุทธภาษิตนี้ สมัยนั้น ยังไม่มีอภิธรรม)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้(เนื่องกับ กามาวจรจิต ใช่หรือไม่)
ว่า เราจักเป็นสัตว์มีรูปดังนี้บ้าง ย่อมมีแก่เขา ___
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้(เนื่องกับ รูปาวจรจิต ?)
ว่า เราจักเป็นสัตว์ไม่มีรูปดังนี้บ้าง ย่อมมีแก่เขา__
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้(เนื่องกับ อรูปาวจรจิต?)
ว่า เราจักเป็นสัตว์มีสัญญาดังนี้บ้างย่อมมีแก่เขา
ว่า เราจักเป็นสัตว์ไม่มีสัญญาดังนี้บ้างย่อมมีแก่เขา
ว่า เราจักเป็นสัตว์ที่มีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ดังนี้บ้างย่อมมีแก่เขา
(วิญญาณฐิติ ๗ อายตนะ ๒ พระสูตรหนึ่ง ที่ตรัส อสัญญีสัตว์ กับ เนวสัญญายนาสัญญายตนะ)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อินทรีย์ทั้งหลาย ๕ ประการ (เมื่อยังมีเหตุก็) ย่อมตั้งอยู่ (เกิดผลคือ) ในอธิคตัง [ถึงทับจับฉวย] เหล่านั้นเทียว
^^^^
ประเด็นสนทนากระทู้นี้ ได้แก่
ข้างบนคือ (ส่วนที่เป็นพระพุทธภาษิต พระสูตรที่ ๕ อัตตทีปวรรค ขันธ์สังยุตต์ ขนฺธ สํ ๑๗/๕๗/๙๔ )
ความสัมพันธ์ ___ ธาตุ อายตนะ มโนปวิจาร ขันธ์ อุปาทานขันธ์ (อริยสัจ๔) อัตตวาทุปาทาน
ที่เนื่องกับ สัสสตทิฏฐิ ใช่หรือไม่?
ความสัมพันธ์ _ ธาตุ อายตนะ มโนปวิจาร ขันธ์ อุปาทานขันธ์ (อริยสัจ๔) อัตตวาทุปาทาน ไม่เนื่องกับ สัสสตทิฏฐิ ?
(๑) ธรรม ๔ ประการที่ใครค้านไม่ได้ (ธาตุ ๖/ ผัสสายตนะ ๖/ มโนปวิจาร ๑๘/ อริยสัจ๔)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ธาตุ ๖ ________________ รูปธาตุ ๔ อันวิญญาณธาตุอาสัยแล้ว + ช่องว่างธาตุ + วิญญาณธาตุ
ผัสสายตนะ ๖ ________________ ตา หู จมูก ลิ้น กาย มโน (ทวาร_มนายตนะ) ที่ทำกิจ กระทบ (ผัสสะ ๒ ตามมหานิทานสูตร)
มโนปวิจาร ๑๘ ________________ มโนธาตุ ท่องเที่ยวไปใน เวทนา ๓ ทางมโนทวาร (โสมนัส โทมนัส อุเบกขา) ทาง อายตนะ ๖
(ผัสสายตนะ เนื่องกับ อายตนะสัมผัสสชาเวทนา ทางมโนทวาร)
เป็นเหตุปัจจัยให้เกิด อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ (พระสูตรที่ ๕ อัตตทีปวรรค ขันธ์สังยุตต์ ขนฺธ สํ ๑๗/๕๗/๙๔ ปฏิจจฯ หน้า ๑๖๓)
เพราะยังมีจิต ปักฝังลงไป (อนุเสติ) ในสิ่งนั้น เพราะ การสำคัญเห็น ซึ่งขันธ์ทั้ง ๕ โดยความเป็นตน (หรือปรมัตถ์ ๔_ เพราะยังมีอวิชชา) บ้าง/ โดยสำคัญเห็นซึ่งตนว่ามีขันธ์ท้ง ๕ (หรือปรมัตถ์)บ้าง / สำคัญเห็นขันธ์ทั้ง ๕ ในตน (หรือปรมัตถ์) บ้าง/ ย่อมสำคัญเห็นซึ่งตนในขันธ์ทั้ง ๕ (หรือปรมัตถ์)บ้าง
^^^^
เพราะไม่ได้ สดับ พระพุทธภาษิตที่ตรัสว่า
___ "เมื่อสำคัญเห็น" (ธาตุ อายตนะ ขันธ์ทั้ง ๕ รวมทั้ง ปรมัตถ์) ก็ย่อม สำคัญเห็น ซึ่ง "ตน (หรือปรมัตถ์) มีอย่างต่างๆ (๔ อย่างคือ โดยความเป็นตน (หรือปรมัตถ์ ๔_ เพราะยังมีอวิชชา) บ้าง/ โดยสำคัญเห็นซึ่งตนว่ามีขันธ์ท้ง ๕ (หรือปรมัตถ์)บ้าง / สำคัญเห็นขันธ์ทั้ง ๕ ในตน (หรือปรมัตถ์) บ้าง/ ย่อมสำคัญเห็นซึ่งตนในขันธ์ทั้ง ๕ (หรือปรมัตถ์)บ้าง = ย่อมสำคัญเห็นซึ่ง อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ บ้าง หรือว่า ย่อมสำคัญเห็นซึ่งอุปาทานขันธ์ใดขั้นธ์หนึ่ง ในบรรดาอุปาทานขันธ์ทั้ง ๕เหล่านั้น
สรุป
เพราะ สำคัญเห็น (ผิด) จึงมี มีนันทิความเพลินในขันธ์ทั้ง ๕ หรือขันธ์ใดขันธ์หนึ่ง= นันทิคืออุปาทาน________เหตุ เกิดผล ตามที่ตรัสว่า
เมื่อสำคัญเห็น (ว่ามีอัตตา ที่ขันธ์ทั้ง ๕ (หรือที่ปรมัตถ์) มี ๔ อาการนั้น = มีจิตอนุเสติลงไป (ทางมโนทวาร) แล้ว
อาการ ทางมโนทวาร (ใจ) ตามคำว่า ____"อธิคตัง" ___ (แปลว่า การถึงทับจับฉวย _____ ลิงจับกิ่งไม้ ตามอัสสุตวตาสูตร) ของอัตตภาพนั้น ว่า "เรา (อัตตา หรือปรมัตถ์) ก็มีอยู่ด้วย (อย่าง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ด้วย)
________เหตุ เกิดผล ตามที่ตรัสว่า
เมื่อภิกษุนั้น อธิคตัง [ถึงทับจับฉวย _ ลิงจับกิ่งไม้] (ว่า) เรามีอยู่ (อสฺมีติ)
ลำดับนั้น
การก้าวลงแห่งอินทรีย์ (๕) คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ก็ ย่อมมี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
มโน (มนินทรีย์) มีอยู่ ธรรมทั้งหลายมีอยู่ อวิชชาธาตุ มีอยู่
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
เมื่อปุถุชน
(คือภิกษุรูปใด หรือ อื่นจากภิกษุทั้งหลาย _____ [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ผู้ไม่ได้สดับแล้ว _____ ตามที่ตรัส
_____ [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
เป็นผู้อัน
เวทนาอันเกิดจาก อวิชชาสัมผัสถูกต้องแล้ว ____ [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
อธิคตัง (การถึงทับจับฉวย) ______________ [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ว่า เรา (อัตตา/ปรมัตถ์) มีอยู่ ______________ (อสฺมีติ) ดังนี้บ้าง
ว่า นี่ (อันนา/ปรมัตถ์) เป็นเรา _____________ (อยมหมสฺมีติ) ดังนี้บ้าง
ว่า เรา (โดยปรมัตถ์) จักมี ______________ (ภวิสฺสํอิติ) ดังนี้บ้าง
ว่า เรา (โดยปรมัตถ์) จักไม่มี ______________ น ภวิส์สํอิติ) ดังนี้บ้าง
ย่อมมีแก่เขา _____________ (ผู้ปุถุชน ที่ไม่ได้สดับ พระพุทธภาษิตนี้ สมัยนั้น ยังไม่มีอภิธรรม)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ว่า เราจักเป็นสัตว์มีรูปดังนี้บ้าง ย่อมมีแก่เขา ___ [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ว่า เราจักเป็นสัตว์ไม่มีรูปดังนี้บ้าง ย่อมมีแก่เขา__ [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ว่า เราจักเป็นสัตว์มีสัญญาดังนี้บ้างย่อมมีแก่เขา
ว่า เราจักเป็นสัตว์ไม่มีสัญญาดังนี้บ้างย่อมมีแก่เขา
ว่า เราจักเป็นสัตว์ที่มีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ดังนี้บ้างย่อมมีแก่เขา
(วิญญาณฐิติ ๗ อายตนะ ๒ พระสูตรหนึ่ง ที่ตรัส อสัญญีสัตว์ กับ เนวสัญญายนาสัญญายตนะ)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อินทรีย์ทั้งหลาย ๕ ประการ (เมื่อยังมีเหตุก็) ย่อมตั้งอยู่ (เกิดผลคือ) ในอธิคตัง [ถึงทับจับฉวย] เหล่านั้นเทียว
^^^^
ประเด็นสนทนากระทู้นี้ ได้แก่
ข้างบนคือ (ส่วนที่เป็นพระพุทธภาษิต พระสูตรที่ ๕ อัตตทีปวรรค ขันธ์สังยุตต์ ขนฺธ สํ ๑๗/๕๗/๙๔ )
ความสัมพันธ์ ___ ธาตุ อายตนะ มโนปวิจาร ขันธ์ อุปาทานขันธ์ (อริยสัจ๔) อัตตวาทุปาทาน ที่เนื่องกับ สัสสตทิฏฐิ ใช่หรือไม่?