ก่อนอื่นต้องแยกนิพพาน และนิพพาน(สัญญา)
เพราะว่านิพพาน(สัญญา) เป็นสิ่งที่ ใจไปรู้ จึงเป็นธรรม
อาการที่ มี ใจ เกิดผัสสะ เพราะ รู้นิพพาน(สัญญา) จึงเป็นธรรม อนัตตา
แต่สภาพนิพพาน เรียกว่า ไม่มีการปรุงแต่ง
สภาพ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็เพราะถูกปรุงแต่ง
เชื่อว่าเป็นแบบนี้นะครับ
จึงกล่าวว่า ธรรม ทั้งปวงเป็นอนัตตา เพราะ ธรรม เป็นอาตยนะภายนอก ใจ เป็นอาตยนะภายใน
สภาพการปรุงแต่ง เป็นอนัตตา เพราะเกิดการผัสสะ
พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า สุข ทุกข์ ล้วนเกิดเพราะผัสสะ
ผัสสะ เป็นเหตุ เป็นปัจจัย แห่งการบัญญัติเวทนาขันธ์
ผัสสะ เป็นเหตุ เป็นปัจจัย แห่งการบัญญัติสัญญาขันธ์
ผัสสะ เป็นเหตุ เป็นปัจจัย แห่งการบัญญัติสังขารขันธ์
เปิดธรรมที่ถูกปิด นืพพาน(สัญญา) เป็นอนัตตา
เพราะว่านิพพาน(สัญญา) เป็นสิ่งที่ ใจไปรู้ จึงเป็นธรรม
อาการที่ มี ใจ เกิดผัสสะ เพราะ รู้นิพพาน(สัญญา) จึงเป็นธรรม อนัตตา
แต่สภาพนิพพาน เรียกว่า ไม่มีการปรุงแต่ง
สภาพ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็เพราะถูกปรุงแต่ง
เชื่อว่าเป็นแบบนี้นะครับ
จึงกล่าวว่า ธรรม ทั้งปวงเป็นอนัตตา เพราะ ธรรม เป็นอาตยนะภายนอก ใจ เป็นอาตยนะภายใน
สภาพการปรุงแต่ง เป็นอนัตตา เพราะเกิดการผัสสะ
พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า สุข ทุกข์ ล้วนเกิดเพราะผัสสะ
ผัสสะ เป็นเหตุ เป็นปัจจัย แห่งการบัญญัติเวทนาขันธ์
ผัสสะ เป็นเหตุ เป็นปัจจัย แห่งการบัญญัติสัญญาขันธ์
ผัสสะ เป็นเหตุ เป็นปัจจัย แห่งการบัญญัติสังขารขันธ์