สมองมีเครือข่ายเซลล์ประสาทที่ซับซ้อนกว่าพันล้าน โดยเซลล์ประสาทแต่ละตัวมีการติดต่อเชื่อมโยงไปยังเซลล์ประสาทตัวอื่นๆในเวลาเดียวกัน อย่างไรก็ตามเซลล์ประสาทจริงๆแล้วมีการรวบรวมเซลล์ประสาทชนิดอื่นๆตลอดจนถึงแตกแขนงกิ่งก้านยาวต่อเนื่องหรือที่เรียกกันว่าเป็นต้นไม้เดนไดรต์
ในปี 1949 Donald Hebb เป็นผู้บุกเบิกในเรื่องนี้โดยอธิบายว่าการเรียนรู้ในสมองเกิดขึ้นได้จากการปรับเปลี่ยนของเซลล์ประสาท ซึ่งหน้าที่ของเซลล์ประสาทก็คือทำการคำนวณองค์ประกอบต่างๆที่อยู่ในสมอง ซึ่งก็ยังเป็นข้อสมมุติฐานที่ใช้กันมาจนถึงทุกวันนี้
มีการทดลองทฤษฎีใหม่และดูผลลัพธ์ที่ออกมาของการพัฒนาเซลล์ประสาท โดยนักวิทยาศาสตร์หลายคนก็ได้ทำการทดลองโดยใช้ข้อสมมุติฐานดั้งเดิมกว่า 70 ปีที่ชี้ให้เห็นว่า การเรียนรู้ของสมองที่เป็นผลเพียงแค่มาจากเซลล์ประสาทนั้นไม่เป็นความจริง
ในบทความที่ได้มีการตีพิมพ์ในนิตยสาร Scientific Reports นั้น ทางด้านนักวิจัยก็ได้ต่อต้านแนวคิดเก่าที่ว่า การเรียนรู้จริงๆแล้วมาจากกิ่งก้านของเซลล์ประสาทที่แตกแขนงออกมา ซึ่งก็คล้ายๆกับมุมมองเกี่ยวกับกลไกการเรียนรู้ที่เชื่อว่ามาจากเซลล์ประสาท
“การค้นพบใหม่เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ในส่วนของกิ่งก้านของเซลล์ประสาทนั้นพบว่ามีอัตราการเติบโตเร็วกว่าโครงสร้างการเรียนรู้ในเซลล์ประสาทดั้งเดิม โครงสร้างกระบวนการเรียนรู้ใหม่นี้ น้อยมากที่เซลล์ประสาทจะมีการปรับตัวเมื่อเปรียบเทียบจำนวนเซลล์เล็กๆกับโครงสร้างการเรียนรู้ของเซลล์ประสาทบริเวณปลายประสาท” กล่าวโดยอาจารย์ Kanter
การค้นพบใหม่นี้ก็ชี้ว่า โครงสร้างการเรียนรู้น้อยมากที่จะมีเรื่องของกิ่งก้านเซลล์เข้ามาเกี่ยวข้องกับเซลล์ประสาทโดยตรง ซึ่งขัดแย้งกับความเชื่อก่อนหน้านี้ “คำถามก็คือจะประเมินได้อย่างไรว่าอากาศที่พวกเราหายใจอยู่ประกอบไปด้วยสิ่งมีชีวิตเล็กๆจำนวนมากจนไปทับถมอวัยวะรับความรู้สึกหรืออวัยวะรับความรู้อยู่ที่แค่ปลายจมูกอย่างนั้นหรือเปล่า? เช่นกันก็มีผลต่อเซลล์ประสาทที่ประเมินได้ถึงสัญญาณต่างๆที่สามารถทำการประมวลผลหน่วยเซลล์ประสาทได้” กล่าวโดย Kanter โดยทฤษฎีของ Hebb เป็นทฤษฎีที่มีอิทธิพลอย่างรากลึกมาเป็นเวลากว่า 70 ปี ที่ไม่มีใครให้มุมมองที่ต่างไปจากเดิมเลย นอกจากนั้นแล้วเซลล์ประสาทกับกิ่งก้านมีความเชื่อมโยงกับเซลล์ประสาทเป็นกลุ่มๆไป ดูเหมือนว่ากระบวนการเรียนรู้จะเป็นเรื่องที่ไม่ค่อยสมเหตุสมผลเท่าไรนัก
การค้นพบอื่นๆก็คือเซลล์ประสาทมีความอ่อนแอ ข้อสมมุติฐานก่อนหน้านี้แม้ว่าจะมีการพูดถึงการทำงานของสมองพวกเราโดยรวม หน้าที่ของสมองของพวกเราก็ดี แต่พวกเขาก็โน้มน้าวชักจูงให้คนอื่นเชื่อในเรื่องของตัวแปรการเรียนรู้มากกว่าที่จะสนับสนุนปรับเปลี่ยนแก้ไขในประเด็นที่ไม่เป็นความจริง เนื่องจากในปัจจุบันก็มีการอธิบายเกี่ยวกับการเรียนรู้ที่มาจากโครงสร้างเซลล์ประสาท
โครงสร้างการเรียนรู้ใหม่จะอยู่ในบริเวณของสมองส่วนต่างๆและด้วยเหตุนี้จึงต้องทำการประเมินแนวทางการเยียวยารักษาสมองใหม่ คำกล่าวของ Donald Hebb ที่ว่า “เซลล์ประสาทมีแรงปลุกเร้าและเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน” นั้น ก็จะต้องมาทบทวนแนวคิดนี้ใหม่ นอกจากนั้นแล้วกลไกการเรียนรู้ถือเป็นพื้นฐานที่ช่วยต่อยอดกลไกการเรียนรู้ขั้นสูงและเรียนรู้ผลตอบแทนได้อย่างรากลึก การเปลี่ยนแปลงองค์ความรู้ถือเป็นการเปิดกว้างการเรียนรู้ที่ต่างไปจากเดิมในการเรียนรู้ที่จะแก้ไขปัญหา และปัญญาประดิษฐ์เองก็มาจากกลไกการทำงานของสมองพวกเราในเบื้องต้น แต่ก็มีการเติมแต่งและยกระดับการเรียนรู้ของปัญญาประดิษฐ์มากขึ้น
ผู้แปล : Mr.lawrence10
ที่มา : sciencedaily.com
ข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับการเรียนรู้ของสมองเดิมตั้งแต่ช่วงศตวรรษที่ 20 นั้นเปลี่ยนไป
สมองมีเครือข่ายเซลล์ประสาทที่ซับซ้อนกว่าพันล้าน โดยเซลล์ประสาทแต่ละตัวมีการติดต่อเชื่อมโยงไปยังเซลล์ประสาทตัวอื่นๆในเวลาเดียวกัน อย่างไรก็ตามเซลล์ประสาทจริงๆแล้วมีการรวบรวมเซลล์ประสาทชนิดอื่นๆตลอดจนถึงแตกแขนงกิ่งก้านยาวต่อเนื่องหรือที่เรียกกันว่าเป็นต้นไม้เดนไดรต์
ในปี 1949 Donald Hebb เป็นผู้บุกเบิกในเรื่องนี้โดยอธิบายว่าการเรียนรู้ในสมองเกิดขึ้นได้จากการปรับเปลี่ยนของเซลล์ประสาท ซึ่งหน้าที่ของเซลล์ประสาทก็คือทำการคำนวณองค์ประกอบต่างๆที่อยู่ในสมอง ซึ่งก็ยังเป็นข้อสมมุติฐานที่ใช้กันมาจนถึงทุกวันนี้
มีการทดลองทฤษฎีใหม่และดูผลลัพธ์ที่ออกมาของการพัฒนาเซลล์ประสาท โดยนักวิทยาศาสตร์หลายคนก็ได้ทำการทดลองโดยใช้ข้อสมมุติฐานดั้งเดิมกว่า 70 ปีที่ชี้ให้เห็นว่า การเรียนรู้ของสมองที่เป็นผลเพียงแค่มาจากเซลล์ประสาทนั้นไม่เป็นความจริง
ในบทความที่ได้มีการตีพิมพ์ในนิตยสาร Scientific Reports นั้น ทางด้านนักวิจัยก็ได้ต่อต้านแนวคิดเก่าที่ว่า การเรียนรู้จริงๆแล้วมาจากกิ่งก้านของเซลล์ประสาทที่แตกแขนงออกมา ซึ่งก็คล้ายๆกับมุมมองเกี่ยวกับกลไกการเรียนรู้ที่เชื่อว่ามาจากเซลล์ประสาท
“การค้นพบใหม่เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ในส่วนของกิ่งก้านของเซลล์ประสาทนั้นพบว่ามีอัตราการเติบโตเร็วกว่าโครงสร้างการเรียนรู้ในเซลล์ประสาทดั้งเดิม โครงสร้างกระบวนการเรียนรู้ใหม่นี้ น้อยมากที่เซลล์ประสาทจะมีการปรับตัวเมื่อเปรียบเทียบจำนวนเซลล์เล็กๆกับโครงสร้างการเรียนรู้ของเซลล์ประสาทบริเวณปลายประสาท” กล่าวโดยอาจารย์ Kanter
การค้นพบใหม่นี้ก็ชี้ว่า โครงสร้างการเรียนรู้น้อยมากที่จะมีเรื่องของกิ่งก้านเซลล์เข้ามาเกี่ยวข้องกับเซลล์ประสาทโดยตรง ซึ่งขัดแย้งกับความเชื่อก่อนหน้านี้ “คำถามก็คือจะประเมินได้อย่างไรว่าอากาศที่พวกเราหายใจอยู่ประกอบไปด้วยสิ่งมีชีวิตเล็กๆจำนวนมากจนไปทับถมอวัยวะรับความรู้สึกหรืออวัยวะรับความรู้อยู่ที่แค่ปลายจมูกอย่างนั้นหรือเปล่า? เช่นกันก็มีผลต่อเซลล์ประสาทที่ประเมินได้ถึงสัญญาณต่างๆที่สามารถทำการประมวลผลหน่วยเซลล์ประสาทได้” กล่าวโดย Kanter โดยทฤษฎีของ Hebb เป็นทฤษฎีที่มีอิทธิพลอย่างรากลึกมาเป็นเวลากว่า 70 ปี ที่ไม่มีใครให้มุมมองที่ต่างไปจากเดิมเลย นอกจากนั้นแล้วเซลล์ประสาทกับกิ่งก้านมีความเชื่อมโยงกับเซลล์ประสาทเป็นกลุ่มๆไป ดูเหมือนว่ากระบวนการเรียนรู้จะเป็นเรื่องที่ไม่ค่อยสมเหตุสมผลเท่าไรนัก
การค้นพบอื่นๆก็คือเซลล์ประสาทมีความอ่อนแอ ข้อสมมุติฐานก่อนหน้านี้แม้ว่าจะมีการพูดถึงการทำงานของสมองพวกเราโดยรวม หน้าที่ของสมองของพวกเราก็ดี แต่พวกเขาก็โน้มน้าวชักจูงให้คนอื่นเชื่อในเรื่องของตัวแปรการเรียนรู้มากกว่าที่จะสนับสนุนปรับเปลี่ยนแก้ไขในประเด็นที่ไม่เป็นความจริง เนื่องจากในปัจจุบันก็มีการอธิบายเกี่ยวกับการเรียนรู้ที่มาจากโครงสร้างเซลล์ประสาท
โครงสร้างการเรียนรู้ใหม่จะอยู่ในบริเวณของสมองส่วนต่างๆและด้วยเหตุนี้จึงต้องทำการประเมินแนวทางการเยียวยารักษาสมองใหม่ คำกล่าวของ Donald Hebb ที่ว่า “เซลล์ประสาทมีแรงปลุกเร้าและเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน” นั้น ก็จะต้องมาทบทวนแนวคิดนี้ใหม่ นอกจากนั้นแล้วกลไกการเรียนรู้ถือเป็นพื้นฐานที่ช่วยต่อยอดกลไกการเรียนรู้ขั้นสูงและเรียนรู้ผลตอบแทนได้อย่างรากลึก การเปลี่ยนแปลงองค์ความรู้ถือเป็นการเปิดกว้างการเรียนรู้ที่ต่างไปจากเดิมในการเรียนรู้ที่จะแก้ไขปัญหา และปัญญาประดิษฐ์เองก็มาจากกลไกการทำงานของสมองพวกเราในเบื้องต้น แต่ก็มีการเติมแต่งและยกระดับการเรียนรู้ของปัญญาประดิษฐ์มากขึ้น
ผู้แปล : Mr.lawrence10
ที่มา : sciencedaily.com