ช่วงเวลาแห่งศิลปะเขมร จากบาปวนถึงนครวัดหยุดนิ่งไปช่วงเวลาหนึ่ง
เวลาที่หยุดนิ่งในกัมพูชานั้น เกิดศิลปะที่เหมือนนครวัด แต่ต่างจากบาปวน
คือ ปราสาทหินพิมาย
สร้างก่อนปราสาทนครวัดราว 40 ปี
ศิขร (ศิ-ขะ-ระ) เป็นพุ่ม ใช้แบบอย่างต่อมาให้กับปราสาทนครวัด บายน หลังบายน และเจดีย์แบบปรางค์
สร้างโดยพระเจ้าชัยวรมันที่ 6 ที่ดินแดนมหิทรปุระหรือพิมาย มีขนาดใหญ่สุดในประเทศไทย
หันหน้าไปทางใต้ ทิศที่มีความหมาย ถึง ความตาย พระยม บรรพบุรุษ จึงอาจสร้างขึ้นเพื่ออุทิศถวายบรรพบุรุษ
สร้างวิมานต่อกับมณฑปตามแบบบันทายสรีหรือบาปวน
แต่
ได้ทำการยืดผนังของเรือนธาตุให้สูงขึ้น และศีขรเป็นพุ่มแบบนครวัด
โดยการออกแบบกลีบขนุน และนาคเอน วางตรงมุม ให้ศิขรดูเป็นเอียงพุ่ม
เป็นปราสาทสร้างชึ้นในในศาสนาพุทธลัทธิตันตรยาน มาแต่เดิม
จากจารึกหลักหนึ่ง(จารึกสมัยพระเจ้าสูริยวรมันที่ 1 ?)
กล่าวถึงพระเจ้าเศาธยวรมันผู้เป็นพุทธมามกะ และกล่าวถึงพระศรีฆนะ หรือ มานุษิพุทธ
หน้าประตูปรางค์ประธานสลักรูปพระวัชรสัตว์ ... สัตว์ผู้มีกายเป็นเพชร
พระหัตถ์ขวาจะทรงวัชระ (วัชระคือสายฟ้าหรือเพชร ที่สามาสรถตัดได้ทุกอย่าง) อันหมายถึงปัญญา พระหัตถ์ซ้ายจะทรงระฆังอันหมายถึงเมตตากรุณา
พระบาทเหยียบซากศพเทพของศาสนาพราหมณ์สัญญักษณ์ของอวิชชา ทำให้เกิดชาติภพการเวียนว่ายตายเกิด
ทับหลัง พระศรีฆนะ หรือ มานุษิพุทธ 7 พระองค์
เมื่อพระพุทธเจ้าองค์แรกที่มาตรัสรู้ และปรินิพพานไปจะไม่มีตัวตนที่จะสั่งสอนมนุษย์ได้
จึงเนรมิตร มานุษิพุทธ 7 คือ พระพุทธเจ้าที่เคยมาตรัสรู้บนโลกมนุษย์ ให้มาได้ตรัสรู้แล้วมาสั่งสอน
สี่องค์สุดท้ายคือพระพุทธเจ้าในกัลป์ปัจจุบัน ได้แก่ พระกกุสันธะ พระโกนาคมนะ พระกัสสปะ และ พระโคตมะ
พระรูปเหมือนกันทุกองค์เพราะบำเพ็ญบารมีมาเสมอกัน
การนุงผ้าหน้านางเหมือนการนุ่งผ้าของสตรีในภาพสลักศิลปะบาปวน ... ร่วมสมัยบาปวน
สมัยพระเจ้าสูริยวรมันที่ 2 ได้สร้างปราสาทนครวัด
ถือเป็น ศิลปะนครวัด ในช่วงตั้งแต่พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ต่อมาอีกถึง 5 รัชกาล
ขณะเดียวกัน นั้นอินเดียได้ฟื้นฟูลัทธิไวษนพ นับถือพระวิษณุ ซึ่งเป็นที่นิยมในหมู่คนชั้นสูง
และจะสร้างเทวาลัยบูชาพระวิษณุให้แตกต่าง คือหันหน้าไปทางทิศตะวันตก
เป็นข้อสันนิษฐานว่า ปราสาทนครวัดจึงหันหน้าไปทางทิศตะวันตก
@ หน้าบันศิลปะนครวัด@
มี 3 แบบคือ
*สืบมาจากบาปวน*
1 เทพอยู่เหนือเกียรติมุข
2 คายท่อนมาลัยตรงแข็งกระด้าง หักศอกตั้งฉากวกลงเป็นเหลี่ยม**
3 ปลายมาลัยเป็นก้านต่อดอกนิยมในบาปวน
4 ด้านบนท่อนมาลัยเป็นกนกใบไม้
5 ด้านล่างเป๋นลายกนกวงกลม
ทับหลังปราสาทหินพิมาย
*ทับหลังเล่าเรื่อง*
อาจอยู่ตอนบนท่อนมาลัย**
มีบุคคลจำนวนมาก ในเรื่องราวในลัทธิไวษณพเกี่ยวกับมหาภารตะ และนารายมะ
ทับหลังปราสาทหินพิมาย พระราม พระลักษณ์ ต้อง ศรนาค บาท
ทับหลังปราสาทหินพิมาย หนุมานถมหินทำถนนไปกรุงลงกา
ทศกัณฐ์ให้นางสุพรรณมัจฉา ธิดาซึ่งเกิดจากนางปลา ไปทำลายการจองถนน
หนุมานเห็นผิดปกติจึงดำน้ำลงไปพบนางสุพรรณมัจฉาและได้นางเป็นชายา
นางพาบริวารปลาไปขนก้อนหินมาถมไว้ดังเดิม
*ทับหลังสืบต่อไปบายน*
1 ประธานเล็กลง**
2 ท่อนมาลัยหายไป**
5 เหลือลายก้านขดและ 4 กนกใบไม้
ทับหลังปราสาทนครวัด
ศิลปะนครวัดในประเทศไทย
*ปราสาทหินพิมาย อ.พิมาย นครราชสีมา*
#ศิลปะนครวัดสืบมาจากบาปวน#
พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ
ครุฑมีทั้งแขนและปีก ยีนเหนือสิงห์กอดนาคไว้
เทพจับมกรที่งวงเริ่มจะเล็กลง
พระพุทธเจ้า
พระอิศวรทรงสิงห์ พระคเนณทรงช้าง พระขันทกุมารทรงนกยูง
#ทับหลังเล่าเรื่อง#
แถบภาพด้านบน มานุษิพุทธ 7 พระองค์
แถบภาพด้านล่าง การกราบไหว้แบบอัษฎางคประดิษฐ์
ให้อวัยวะแปดจรดพื้น คือ หน้าผาก ฝ่ามือทั้งสอง หน้าอก เข่าทั้งสอง และปลายเท้าทั้งสอง แนบจรดพื้น
เรื่องรามายณะ ตอนสุครีพ เดินทัพไปช่วยพระรามเพื่อไปกรุงลงกา
แถบภาพด้านล่าง
มารผจญภาพสลักด้านล่างเป็น
พญามาร มีหลายหน้า จะเอาโพธิบัลลังก์ ภาพของเหล่ามาร จะซัดอาวุธทำร้าย
แถบภาพด้านบน
พระพุทธเจ้าว่าบัลลังก์นี้เกิดด้วยบุญทรงสมมา นิ้วพระหัตถ์ขวาชี้แตะลงธรณีเพื่อเป็นพยาน
พระแม่พระธรณีทักษิโณทก โดยน้ำที่ไหลมาจากการกรวดอุทิศผลบุญของพระพุทธเจ้าในแต่ละชาติ
พระพุทธเจ้า 7 พระองค์
การรำอาจเกิดปัญญาหลุดพ้น ถือดอกบัว
กวนเกษียรสมุทรเพื่อทำน้ำอมฤต
*ปราสาทสระกำแพงใหญ่ อ.อุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ*
ศิลปะแบบบาปวน+คลัง >> บาปวน
ภาพคชลักษมี หรือ อภิเษกศรี เพื่อความอุดมสมบูรณ์และความโชคดี
บาปวน+คลังท่อนมาลัยถูกตัด+นครวัดมีรูปสิงห์ >> นครวัด
บาปวน + นครวัด >> นครวัด
หนุมานถวายแหวน รามายณะ
บาปวน+นครวัด รามายณะ มีลิงมาก >> นครวัด
บาปวน+นครวัดมหากาพย์รามายณะ >> นครวัด
ปราสาทศิขรภูมิ อ.ศีขรภูมิ สุรินทร์
มี 5 ยอด มีคูน้ำล้อมรอบ อยู่บนฐานเดียวกัน เรียนแบบผังนครวัด
หน้าบัน เป็นแบบเล่าเรื่อง
มีบุคคลเต็มไปหมดคือ
ศิวะนาฏราช 2 กร รำเป็น 10 กร
วิษณุ + พรหม ตีฉิ่ง คเนศ ตีกอง นางเคารีหรือปาวารตี ถือไม้เท้ารูปกระโหลก
ภาพด้านบนเป็นปางหนึ่งของพระศิวะชื่อ กิราตาชุนนะมูรติ หรือ อรชุนวิวาหะ
ด้านขวาของพระศิวะเป็นภาพ พระศิวะกับพระอรุชน ถือคันศรเป็นอาวุธ โดยมีหมูป่าอยู่เหนือบุคคลทั้งสอง
ด้านซ้ายของพระศิวะเป็นภาพคนกำลังสู้กัน มีหมูมี่มีหัวเป็นคน
เป็นเรื่องจากมหาภารตะ หนึ่งในมหากาพย์ของอินเดีย
เล่าว่า
เมื่ออรชุนได้ต่อสู้กับพระอินทร์ พระอินทร์พอใจในความกล้าหาญของอรชุนมาก
จึงจะมอบอาวุธวิเศษทั้งหมดให้ แต่อรชุนต้องได้ปาศุปัตอาวุธวิเศษของพระศิวะก่อน
อรชุนจึงออกบำเพ็ญตบะบูชาพระศิวะ ณ นครอิทรขีลหลายปีจนพระศิวะพอพระทัย
พระศิวะจึงจำแลงเป็นพรานป่า
พอดีอสูรหมูป่าเข้าจะทำร้ายอรชุน
พรานป่าร้องห้ามมิให้อรชุนยิงหมูป่าตัวนั้น เพราะตนเห็นก่อน แต่อรชุนไม่เชื่อ
ทั้งคู่จึงเล็งศรและยิงใส่หมูป่าตัวนั้นพร้อมกัน
เกิดการต่อสู้ระหว่างอรชุนกับพรานเพื่อแย่งหมูป่าตัวนั้น อรชุนสู้ไม่ได้
อรชุนจึงเกิดความสงสัย และนึกขึ้นว่าคงเป็นพระศิวะจำแลงกายลงมาแน่
จึงวางอาวุธแล้วก้มลงทำความเคารพ
พระศิวะจึงประทานอาวุธนาน ปาศุปัต ให้แก่ อรชุน
*ปราสาทกู่สวนแตง อ.บ้านใหม่ไชยพจน์ บุรีรัมย์*
หนัาบันในพิพิธภัณฑสถานพิมาย
เทวดาประทับนั่งเหนือเกียรติมุข ... ท่อนมาลัยหักศอกแสดงถึงนครวัด
กวนเกษียรสมุทร
พระอินทร์ประทับท่ามหาราชลีลาสนะ บนช้าง พระหัตถ์ขวาถือดอกบัว
บริวารถือ เครื่องสูง บังสูรย์ บังแทรก แสดงถึงความเป็นกษัตริย์
*พนมรุ้ง อ.นางรอง บุรีรัมย์*
เดิมเป็นเทวาลัยก่อด้วยอิฐ แบบเกาะแกร์
ต่อมาสร้างวิมานศิลปะบาปวน แต่ไม่เศร็จ
เจ้าชายนเรนทราทิตย์ ลูกของพี่หรือน้องสาว พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 มาบำเพ็ญพรต
พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 จึงสร้างพระราชทานให้
เพื่อบูชาพระศิวะในรูปแบบของลึงก์
เทพประทับมหาราชลีลาในซุ้มเรือนแก้วเหนือหน้ากาล ถือดอกบัว ... พระอินทร์
หน้ากาลจับขาสิงห์ทั้ง 2 ข้าง
วิษณุอนันตศายินปัทมนาภะ... สร้างโลก
สองภาพนี้มักอยู่คู่กัน
หน้าบัน ศิวะนาฏราช 2 กร ฟ้อนรำ 10 กร ... ปกป้องโลก
ซ้ายของภาพมีนางนมยานสองคน
คนนอกคือนางกาไลการถือกรับ นางสวยแต่ตั้งใจบูชาพระศิวะตนสามีทิ้งจึงขอพรพระศิวะให้น่าเกลียด ...
คนในคือนางกาลีมือจับขาไว้ที่ไหล่
ขวาของภาพมีพระพรหม และพระคเณศ
พระรามพระลักษณ์ถูกศรนาคบาศ
ปราสาทบ้านโคกงิ้ว อ.ปะคำ บุรีรัมย์
ยังมีต่อค่ะ
ทับหลัง ตอน 2 ศิลปะนครวัด
เวลาที่หยุดนิ่งในกัมพูชานั้น เกิดศิลปะที่เหมือนนครวัด แต่ต่างจากบาปวน
คือ ปราสาทหินพิมาย
สร้างก่อนปราสาทนครวัดราว 40 ปี
ศิขร (ศิ-ขะ-ระ) เป็นพุ่ม ใช้แบบอย่างต่อมาให้กับปราสาทนครวัด บายน หลังบายน และเจดีย์แบบปรางค์
สร้างโดยพระเจ้าชัยวรมันที่ 6 ที่ดินแดนมหิทรปุระหรือพิมาย มีขนาดใหญ่สุดในประเทศไทย
หันหน้าไปทางใต้ ทิศที่มีความหมาย ถึง ความตาย พระยม บรรพบุรุษ จึงอาจสร้างขึ้นเพื่ออุทิศถวายบรรพบุรุษ
สร้างวิมานต่อกับมณฑปตามแบบบันทายสรีหรือบาปวน
แต่
ได้ทำการยืดผนังของเรือนธาตุให้สูงขึ้น และศีขรเป็นพุ่มแบบนครวัด
โดยการออกแบบกลีบขนุน และนาคเอน วางตรงมุม ให้ศิขรดูเป็นเอียงพุ่ม
เป็นปราสาทสร้างชึ้นในในศาสนาพุทธลัทธิตันตรยาน มาแต่เดิม
จากจารึกหลักหนึ่ง(จารึกสมัยพระเจ้าสูริยวรมันที่ 1 ?)
กล่าวถึงพระเจ้าเศาธยวรมันผู้เป็นพุทธมามกะ และกล่าวถึงพระศรีฆนะ หรือ มานุษิพุทธ
หน้าประตูปรางค์ประธานสลักรูปพระวัชรสัตว์ ... สัตว์ผู้มีกายเป็นเพชร
พระหัตถ์ขวาจะทรงวัชระ (วัชระคือสายฟ้าหรือเพชร ที่สามาสรถตัดได้ทุกอย่าง) อันหมายถึงปัญญา พระหัตถ์ซ้ายจะทรงระฆังอันหมายถึงเมตตากรุณา
พระบาทเหยียบซากศพเทพของศาสนาพราหมณ์สัญญักษณ์ของอวิชชา ทำให้เกิดชาติภพการเวียนว่ายตายเกิด
ทับหลัง พระศรีฆนะ หรือ มานุษิพุทธ 7 พระองค์
เมื่อพระพุทธเจ้าองค์แรกที่มาตรัสรู้ และปรินิพพานไปจะไม่มีตัวตนที่จะสั่งสอนมนุษย์ได้
จึงเนรมิตร มานุษิพุทธ 7 คือ พระพุทธเจ้าที่เคยมาตรัสรู้บนโลกมนุษย์ ให้มาได้ตรัสรู้แล้วมาสั่งสอน
สี่องค์สุดท้ายคือพระพุทธเจ้าในกัลป์ปัจจุบัน ได้แก่ พระกกุสันธะ พระโกนาคมนะ พระกัสสปะ และ พระโคตมะ
พระรูปเหมือนกันทุกองค์เพราะบำเพ็ญบารมีมาเสมอกัน
การนุงผ้าหน้านางเหมือนการนุ่งผ้าของสตรีในภาพสลักศิลปะบาปวน ... ร่วมสมัยบาปวน
สมัยพระเจ้าสูริยวรมันที่ 2 ได้สร้างปราสาทนครวัด
ถือเป็น ศิลปะนครวัด ในช่วงตั้งแต่พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ต่อมาอีกถึง 5 รัชกาล
ขณะเดียวกัน นั้นอินเดียได้ฟื้นฟูลัทธิไวษนพ นับถือพระวิษณุ ซึ่งเป็นที่นิยมในหมู่คนชั้นสูง
และจะสร้างเทวาลัยบูชาพระวิษณุให้แตกต่าง คือหันหน้าไปทางทิศตะวันตก
เป็นข้อสันนิษฐานว่า ปราสาทนครวัดจึงหันหน้าไปทางทิศตะวันตก
@ หน้าบันศิลปะนครวัด@
*สืบมาจากบาปวน*
1 เทพอยู่เหนือเกียรติมุข
2 คายท่อนมาลัยตรงแข็งกระด้าง หักศอกตั้งฉากวกลงเป็นเหลี่ยม**
3 ปลายมาลัยเป็นก้านต่อดอกนิยมในบาปวน
4 ด้านบนท่อนมาลัยเป็นกนกใบไม้
5 ด้านล่างเป๋นลายกนกวงกลม
ทับหลังปราสาทหินพิมาย
*ทับหลังเล่าเรื่อง*
มีบุคคลจำนวนมาก ในเรื่องราวในลัทธิไวษณพเกี่ยวกับมหาภารตะ และนารายมะ
ทับหลังปราสาทหินพิมาย พระราม พระลักษณ์ ต้อง ศรนาค บาท
ทับหลังปราสาทหินพิมาย หนุมานถมหินทำถนนไปกรุงลงกา
ทศกัณฐ์ให้นางสุพรรณมัจฉา ธิดาซึ่งเกิดจากนางปลา ไปทำลายการจองถนน
หนุมานเห็นผิดปกติจึงดำน้ำลงไปพบนางสุพรรณมัจฉาและได้นางเป็นชายา
นางพาบริวารปลาไปขนก้อนหินมาถมไว้ดังเดิม
*ทับหลังสืบต่อไปบายน*
2 ท่อนมาลัยหายไป**
5 เหลือลายก้านขดและ 4 กนกใบไม้
ทับหลังปราสาทนครวัด
ศิลปะนครวัดในประเทศไทย
*ปราสาทหินพิมาย อ.พิมาย นครราชสีมา*
#ศิลปะนครวัดสืบมาจากบาปวน#
พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ
ครุฑมีทั้งแขนและปีก ยีนเหนือสิงห์กอดนาคไว้
เทพจับมกรที่งวงเริ่มจะเล็กลง
พระพุทธเจ้า
พระอิศวรทรงสิงห์ พระคเนณทรงช้าง พระขันทกุมารทรงนกยูง
#ทับหลังเล่าเรื่อง#
แถบภาพด้านบน มานุษิพุทธ 7 พระองค์
แถบภาพด้านล่าง การกราบไหว้แบบอัษฎางคประดิษฐ์
ให้อวัยวะแปดจรดพื้น คือ หน้าผาก ฝ่ามือทั้งสอง หน้าอก เข่าทั้งสอง และปลายเท้าทั้งสอง แนบจรดพื้น
เรื่องรามายณะ ตอนสุครีพ เดินทัพไปช่วยพระรามเพื่อไปกรุงลงกา
แถบภาพด้านล่าง
มารผจญภาพสลักด้านล่างเป็น
พญามาร มีหลายหน้า จะเอาโพธิบัลลังก์ ภาพของเหล่ามาร จะซัดอาวุธทำร้าย
แถบภาพด้านบน
พระพุทธเจ้าว่าบัลลังก์นี้เกิดด้วยบุญทรงสมมา นิ้วพระหัตถ์ขวาชี้แตะลงธรณีเพื่อเป็นพยาน
พระแม่พระธรณีทักษิโณทก โดยน้ำที่ไหลมาจากการกรวดอุทิศผลบุญของพระพุทธเจ้าในแต่ละชาติ
พระพุทธเจ้า 7 พระองค์
การรำอาจเกิดปัญญาหลุดพ้น ถือดอกบัว
กวนเกษียรสมุทรเพื่อทำน้ำอมฤต
*ปราสาทสระกำแพงใหญ่ อ.อุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ*
ศิลปะแบบบาปวน+คลัง >> บาปวน
ภาพคชลักษมี หรือ อภิเษกศรี เพื่อความอุดมสมบูรณ์และความโชคดี
บาปวน+คลังท่อนมาลัยถูกตัด+นครวัดมีรูปสิงห์ >> นครวัด
บาปวน + นครวัด >> นครวัด
หนุมานถวายแหวน รามายณะ
บาปวน+นครวัด รามายณะ มีลิงมาก >> นครวัด
บาปวน+นครวัดมหากาพย์รามายณะ >> นครวัด
ปราสาทศิขรภูมิ อ.ศีขรภูมิ สุรินทร์
มี 5 ยอด มีคูน้ำล้อมรอบ อยู่บนฐานเดียวกัน เรียนแบบผังนครวัด
หน้าบัน เป็นแบบเล่าเรื่อง
มีบุคคลเต็มไปหมดคือ
ศิวะนาฏราช 2 กร รำเป็น 10 กร
วิษณุ + พรหม ตีฉิ่ง คเนศ ตีกอง นางเคารีหรือปาวารตี ถือไม้เท้ารูปกระโหลก
ภาพด้านบนเป็นปางหนึ่งของพระศิวะชื่อ กิราตาชุนนะมูรติ หรือ อรชุนวิวาหะ
ด้านขวาของพระศิวะเป็นภาพ พระศิวะกับพระอรุชน ถือคันศรเป็นอาวุธ โดยมีหมูป่าอยู่เหนือบุคคลทั้งสอง
ด้านซ้ายของพระศิวะเป็นภาพคนกำลังสู้กัน มีหมูมี่มีหัวเป็นคน
เป็นเรื่องจากมหาภารตะ หนึ่งในมหากาพย์ของอินเดีย
เล่าว่า
เมื่ออรชุนได้ต่อสู้กับพระอินทร์ พระอินทร์พอใจในความกล้าหาญของอรชุนมาก
จึงจะมอบอาวุธวิเศษทั้งหมดให้ แต่อรชุนต้องได้ปาศุปัตอาวุธวิเศษของพระศิวะก่อน
อรชุนจึงออกบำเพ็ญตบะบูชาพระศิวะ ณ นครอิทรขีลหลายปีจนพระศิวะพอพระทัย
พระศิวะจึงจำแลงเป็นพรานป่า
พอดีอสูรหมูป่าเข้าจะทำร้ายอรชุน
พรานป่าร้องห้ามมิให้อรชุนยิงหมูป่าตัวนั้น เพราะตนเห็นก่อน แต่อรชุนไม่เชื่อ
ทั้งคู่จึงเล็งศรและยิงใส่หมูป่าตัวนั้นพร้อมกัน
เกิดการต่อสู้ระหว่างอรชุนกับพรานเพื่อแย่งหมูป่าตัวนั้น อรชุนสู้ไม่ได้
อรชุนจึงเกิดความสงสัย และนึกขึ้นว่าคงเป็นพระศิวะจำแลงกายลงมาแน่
จึงวางอาวุธแล้วก้มลงทำความเคารพ
พระศิวะจึงประทานอาวุธนาน ปาศุปัต ให้แก่ อรชุน
*ปราสาทกู่สวนแตง อ.บ้านใหม่ไชยพจน์ บุรีรัมย์*
หนัาบันในพิพิธภัณฑสถานพิมาย
เทวดาประทับนั่งเหนือเกียรติมุข ... ท่อนมาลัยหักศอกแสดงถึงนครวัด
กวนเกษียรสมุทร
พระอินทร์ประทับท่ามหาราชลีลาสนะ บนช้าง พระหัตถ์ขวาถือดอกบัว
บริวารถือ เครื่องสูง บังสูรย์ บังแทรก แสดงถึงความเป็นกษัตริย์
*พนมรุ้ง อ.นางรอง บุรีรัมย์*
เดิมเป็นเทวาลัยก่อด้วยอิฐ แบบเกาะแกร์
ต่อมาสร้างวิมานศิลปะบาปวน แต่ไม่เศร็จ
เจ้าชายนเรนทราทิตย์ ลูกของพี่หรือน้องสาว พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 มาบำเพ็ญพรต
พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 จึงสร้างพระราชทานให้
เพื่อบูชาพระศิวะในรูปแบบของลึงก์
เทพประทับมหาราชลีลาในซุ้มเรือนแก้วเหนือหน้ากาล ถือดอกบัว ... พระอินทร์
หน้ากาลจับขาสิงห์ทั้ง 2 ข้าง
วิษณุอนันตศายินปัทมนาภะ... สร้างโลก
สองภาพนี้มักอยู่คู่กัน
หน้าบัน ศิวะนาฏราช 2 กร ฟ้อนรำ 10 กร ... ปกป้องโลก
ซ้ายของภาพมีนางนมยานสองคน
คนนอกคือนางกาไลการถือกรับ นางสวยแต่ตั้งใจบูชาพระศิวะตนสามีทิ้งจึงขอพรพระศิวะให้น่าเกลียด ...
คนในคือนางกาลีมือจับขาไว้ที่ไหล่
ขวาของภาพมีพระพรหม และพระคเณศ
พระรามพระลักษณ์ถูกศรนาคบาศ
ปราสาทบ้านโคกงิ้ว อ.ปะคำ บุรีรัมย์
ยังมีต่อค่ะ