หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
>>>>>>> [ เจาะเวลาหาอดีตด้วยภาพเก่าๆของคนแก่ๆ : ตอน ปราสาทหินพิมาย 2513 ] <<<<<<<
กระทู้สนทนา
กล้องถ่ายรูป
กล้องฟิล์ม
บ้านเกิดผมคือจังหวัดนครราชสีมาหรือโคราชจะไม่มีภาพสถานที่ท่องเที่ยวประจำจังหวัดมาให้ชมด้วยนี่คงกระไรอยู่วันนี้เลยขอนำภาพปราสาทหินพิมายที่ถ่ายประมาณปี 2513-2514 มาให้ชม
ประวัติและที่ตั้ง
เมืองพิมายเป็นเมืองที่สร้างตามแบบแผนของศิลปะแขมร หรือ กัมพูชา มีลักษณะเป็นเวียงสี่เหลี่ยม ชื่อ พิมาย น่าจะมาจากคำว่า วิมาย หรือ วิมายปุระ ที่ปรากฏในจารึกภาษาเขมรบนแผ่นหินตรงกรอบประตูระเบียงคดด้านหน้าของปราสาท จากหลักฐานศิลาจารึกและศิลปะสร้างบ่งบอกว่า ปราสาทหินพิมายคงเริ่มสร้างขึ้นสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 ราวพุทธศตวรรษที่ 16 ในฐานะเทวสถานของศาสนาพราหมณ์ รูปแบบของศิลปะเป็นแบบบาปวนผสมผสานกับศิลปะแบบนครวัด ซึ่งหมายถึงปราสาทนี้ได้ถูกดัดแปลงมาเป็นสถานที่ทางศาสนาพุทธในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เมื่ออิทธิพลของวัฒนธรรมขอมเริ่มเสื่อมลงหลังรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 และมีการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยในเวลาต่อมา เมืองพิมายคงจะหมดความสำคัญลง และหายไปในที่สุด เนื่องไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับเมืองพิมายเลยในสมัยสุโขทัยในปี พ.ศ. 2479 กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนปราสาทหินพิมายเป็นโบราณสถาน และได้จัดตั้งเป็น อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย ในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2532 โดยได้ดำเนินการปรับปรุงจัดตั้งถึง 13 ปี ร่วมมือกันระหว่างกรมศิลปากร และประเทศฝรั่งเศส ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2519-2532 ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จฯ พระราชดำเนิน เป็นองค์ประธานในพิธีเปิดอุทยาน
ที่ตั้งของอำเภอพิมาย
:จากตัวเมืองนครราชสีมาเดินทางมาตามทางหลวงหมายเลข 2 (นครราชสีมา-ขอนแก่น) ระยะทาง 50 กิโลเมตรถึงทางแยกตลาดแคเลี้ยวขวาไปตามทางหลวง 206 อีก 10 กิโลเมตร
*** ข้อมูลจากวิกิพีเดีย ***
ขอบคุณทุกท่านที่แวะชม
*** ภาพทั้งหมดสแกนมาจากภาพอัดที่ถ่ายไว้ตั้งแต่ปี 2513 อาจไม่ชัดเจนและสีไม่สวยต้องขออภัยด้วย ***
หากท่านชอบคิดว่ามีประโยชน์สำหรับคนรุ่นหลังและต้องการเก็บภาพเหล่านี้เข้าคลังช่วยกรุณากดเครื่องหมาย + มุมซ้ายด้านล่างให้ด้วยครับ ขอบคุณครับ
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
เที่ยว"เทศกาลเที่ยวพิมาย" เดินชมศิลปะแสงสีและวิถีชีวิต จ.นครราชสีมา
พิ ม า ย บ้ า น ฉั น สวัสดีครับเพื่อน ๆ ปีนี้ผมไม่ค่อยได้เดินทางมากนัก เพราะมีภาระหน้าที่และความรับผิดชอบที่ต้องดูแล แต่เมื่อวัยใกล้ 40 ผมได้เรียนรู้ว่
Baypacker
เที่ยวเมืองพิมาย ::: อารยธรรมเก่าแก่แห่งลุ่มน้ำมูล จ.นครราชสีมา :::
พิมายปุระ อารยธรรมเก่าแก่ แห่งลุ่มน้ำมูล สวัสดีการเดินทางในช่วงที่ร้อนสุด ของประเทศไทย ครั้งนี้ผมได้เดินทางไปยังเมือง ที่มีอารยธรรมเก่าแก่กว่าพันปี&nb
Baypacker
ตามรอยวัฒนธรรมขอมสมัยอยุธยา : อรรถรสน่ารู้ ก่อนดูซีรีย์ “แม่หยัว”
เปิดปม มูลเหตุปัจจัยความคับแค้นในใจสายราชวงศ์อู่ทองที่มากกว่าสู้เพื่อบรรพบุรุษ แบบตีความภูมิหลัง “ขอม” ไม่ได้แปลว่า “เขมร” โดยตรง แม้ศูนย์กลางการปกครองอาณาจักรขอม อ
สมาชิกหมายเลข 7873663
รีวิว...สุดทางราชมรรคาที่ "นครราชสีมา"
สวัสดีชาวพันทิปครับ...การเดินทางตามเส้นทางราชมรรคาจากชายแดนฝั่งไทยโดยมีจุดเริ่มต้นที่ช่องเขาตาเมือนซึ่งเป็นที่ตั้งของกลุ่มปราสาทตาเมือน ตอนนี้ผมเดินทางมาถึงจังหวัดสุ
วิวริมหน้าต่าง
เกาะแกร์ (Koh Ker) มรดกโลกลำดับที่ 4 ของราชอาณาจักรกัมพูชา
จากการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกครั้งที่ 45 ณ ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย นอกจากอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ ประเทศไทยได้รับการรับรองให้เป็นมรดกโลกลำดับที่ 7 ของประเทศไทยแล้ว กลุ่มปราสาทเกาะแกร์ ราชอาณาจักกัม
declare01
รีวิว...เยือนถิ่นอีสานใต้ ย้อนอดีตกับ "ปราสาทขอม" จังหวัดแรก "ศรีสะเกษ"
สวัสดีชาวพันทิปครับ “ขอม” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เป็นคำนาม แปลว่า “เขมรโบราณ” ศิลปะแบบขอมพบในประเทศไทยมานานแล้วแ
วิวริมหน้าต่าง
แนะนำสถานที่ท่องเที่ยวในอ.พิมาย
1.ปราสาทหินพิมาย อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย : หรือที่หลาย ๆ ท่านเรียกกันสั้น ๆ ว่า “ปราสาทหินพิมาย” เป็นพุทธสถานในนิกายมหายานที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย จากการศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร
สมาชิกหมายเลข 4777935
ทำไมเขมรสมัยหลังนครวัดแตกถึงไม่สามารถสร้างปราสาทหินได้อีก
ตามหัวข้อเลยครับ ทำไมชาวเขมรที่อ้างต้นว่าเป็นเจ้าของนครวัด ถึงไม่สามารถสร้างสิ่งก่อสร้างแบบปราสาทหินได้อีกหลังนครวัดถูกตีแตก ชาวเขมรใช่เจ้าของจริงๆหรือไม่
สมาชิกหมายเลข 7303943
เปิดประสบการณ์! การเที่ยวมิติใหม่ "ชมปราสาทหินพิมายยามค่ำคืน"
ได้เวลาแต่งชุดไทย ออกไปชมแสง สี เสียงยามค่ำคืนกันที่ "อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย" พุทธสถานในนิกายมหายานที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ในอำเภอพิมาย จ.นครราชสี
สมาชิกหมายเลข 7831289
ปราสาทจามปา โปกลองการาย (Po Klong Garai Temple)
ปราสาทจามปา โปกลองการาย (Po Klong Garai Temple) วิหารโปกลองการาย หรือวิหารโปกลองก่าหร่าย (Po 
ขี้เมี่ยง ชาแนล
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
กล้องถ่ายรูป
กล้องฟิล์ม
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
>>>>>>> [ เจาะเวลาหาอดีตด้วยภาพเก่าๆของคนแก่ๆ : ตอน ปราสาทหินพิมาย 2513 ] <<<<<<<
ประวัติและที่ตั้ง
เมืองพิมายเป็นเมืองที่สร้างตามแบบแผนของศิลปะแขมร หรือ กัมพูชา มีลักษณะเป็นเวียงสี่เหลี่ยม ชื่อ พิมาย น่าจะมาจากคำว่า วิมาย หรือ วิมายปุระ ที่ปรากฏในจารึกภาษาเขมรบนแผ่นหินตรงกรอบประตูระเบียงคดด้านหน้าของปราสาท จากหลักฐานศิลาจารึกและศิลปะสร้างบ่งบอกว่า ปราสาทหินพิมายคงเริ่มสร้างขึ้นสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 ราวพุทธศตวรรษที่ 16 ในฐานะเทวสถานของศาสนาพราหมณ์ รูปแบบของศิลปะเป็นแบบบาปวนผสมผสานกับศิลปะแบบนครวัด ซึ่งหมายถึงปราสาทนี้ได้ถูกดัดแปลงมาเป็นสถานที่ทางศาสนาพุทธในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เมื่ออิทธิพลของวัฒนธรรมขอมเริ่มเสื่อมลงหลังรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 และมีการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยในเวลาต่อมา เมืองพิมายคงจะหมดความสำคัญลง และหายไปในที่สุด เนื่องไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับเมืองพิมายเลยในสมัยสุโขทัยในปี พ.ศ. 2479 กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนปราสาทหินพิมายเป็นโบราณสถาน และได้จัดตั้งเป็น อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย ในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2532 โดยได้ดำเนินการปรับปรุงจัดตั้งถึง 13 ปี ร่วมมือกันระหว่างกรมศิลปากร และประเทศฝรั่งเศส ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2519-2532 ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จฯ พระราชดำเนิน เป็นองค์ประธานในพิธีเปิดอุทยาน
ที่ตั้งของอำเภอพิมาย :จากตัวเมืองนครราชสีมาเดินทางมาตามทางหลวงหมายเลข 2 (นครราชสีมา-ขอนแก่น) ระยะทาง 50 กิโลเมตรถึงทางแยกตลาดแคเลี้ยวขวาไปตามทางหลวง 206 อีก 10 กิโลเมตร
*** ข้อมูลจากวิกิพีเดีย ***
ขอบคุณทุกท่านที่แวะชม
*** ภาพทั้งหมดสแกนมาจากภาพอัดที่ถ่ายไว้ตั้งแต่ปี 2513 อาจไม่ชัดเจนและสีไม่สวยต้องขออภัยด้วย ***
หากท่านชอบคิดว่ามีประโยชน์สำหรับคนรุ่นหลังและต้องการเก็บภาพเหล่านี้เข้าคลังช่วยกรุณากดเครื่องหมาย + มุมซ้ายด้านล่างให้ด้วยครับ ขอบคุณครับ