เกริ่นก่อนว่าภาษาไทย รากศัพท์ที่มาจากบาลี เยอะมากๆ
เมื่อฟังคำว่า พุทธวจน ทำให้เข้าใจไปถึงรากศัพท์ โดยที่ไม่ต้องเคยศึกษาบาลีมาก่อน
แต่เมื่อมาฟังคำว่า พุทธพจน์ ฟังดูยังไงก็รู้ว่าเป็นศัพท์สมัยใหม่
แต่ทำไมบางคนเลี่ยงไม่ยอมใช้คำว่า พุทธวจน จากพระสูตร
กลับไปพูดคำว่า พุทธพจน์ แทนครับ?
ช่วยอธิบายที่มาที่ไปของทั้ง สองคำนี้ จึงไม่ใช้คำว่า พุทธวจน ด้วยครับ
เปิดธรรมที่ถูกปิดด้วยครับ
พุทธวจน กับ พุทธพจน์ ต่างกันอย่างไรครับ ในเมื่อรากศัพท์มาเหมือนกัน
เมื่อฟังคำว่า พุทธวจน ทำให้เข้าใจไปถึงรากศัพท์ โดยที่ไม่ต้องเคยศึกษาบาลีมาก่อน
แต่เมื่อมาฟังคำว่า พุทธพจน์ ฟังดูยังไงก็รู้ว่าเป็นศัพท์สมัยใหม่
แต่ทำไมบางคนเลี่ยงไม่ยอมใช้คำว่า พุทธวจน จากพระสูตร
กลับไปพูดคำว่า พุทธพจน์ แทนครับ?
ช่วยอธิบายที่มาที่ไปของทั้ง สองคำนี้ จึงไม่ใช้คำว่า พุทธวจน ด้วยครับ
เปิดธรรมที่ถูกปิดด้วยครับ