เมื่อพญามังรายสร้างวัดเชียงมั่นเสร็จ
ได้อัญเชิญ พระเจ้าค่าคิง คือ เท่ากับตัว ... ของพญามังราย
พระพุทธรูปปางลีลาห้ามญาติ เนื้อสำริด ที่หล่อที่เวียงกุมกาม
ให้มาประดิษฐานไว้ในวัดเชียงมั่น
ขณะหามพระพุทธรูปมา ไม้คานที่ใช้หามพระพุทธรูป คอดลง (หย่อนลงคอดกิ่ว)
จนหามต่อไปไม่ได้
พญามังรายถือเป็นบุพพนิมิตที่ดี
จึงโปรดให้สร้างพระอารามขึ้น เมื่อ พ.ศ. 1836-1840
ชื่อวัด กานกอด หรือ ก๋าละก้อด (ก๋าน ละ ก้อด) ... คาน ว่าไม้กาน
เมื่อพญามังรายได้สร้างวัดเชียงมั่น
อยู่ถนนราชมรรคา ซอย 6
มาร์คตำแหน่ง สถานีตำรวจกองเมืองเชียงใหม่ ร้านเฮือนเพ็ญ ไว้เป็นจุดสังเกต
พระเจ้าค่าคิง
พระเจ้า ภาษาเหนือหมายถึง พระพุทธรูป เช่น หิ้งพระเจ้า โขงพระเจ้า ซุ้มพระเจ้า
ค่า แปลว่าเท่ากับ เสมอ
คิง และว่า ตัวตนคน
รองศาสตราจารย์สมโชติ อ๋องสกุล ที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อธิบายว่า
การสร้างพระพุทธรูปสูงใหญ่เท่าตัวตนผู้สร้างนั้น
มิได้หมายความว่าเท่ากับความสูงจริง
แต่จะให้ผู้สร้างยืนกลางแสงแดดยามเช้าหรือเวลาเย็นที่แสงทอดไปไกลที่สุด
แล้วให้วัดความยาวจากลำแสงที่ทอดผ่านนั้น มาใช้เป็นความสูงของพระพุทธรูป
เพราะ เนื่องมาจากไม่เป็นการบังควรที่จะสร้างเท่าขนาดความสูงปกติเท่าคนจริง เพราะพระพุทธรูปเป็นตัวแทนของพระพุทธเจ้า
พระพุทธรูปองค์นี้จึงสูงกว่าตัวตนจริงของพญามังราย
เจดีย์ทรงระฆัง
เรือนธาตุสี่เหลียม มีซุ้มพระเจ้าทั้งสี่ด้าน
วิหาร ... ภาพเมื่อ พ.ศ. 2557
เมื่อมีการซ่อมแซมวิหาร พ.ศ. 2510 ได้พบจารึกผอบเงินใต้ฐานพระประธาน
ด้วยอักษรไตยวน ชื่อวัด คานคอด หรือ ก๋าละก้อด (ก๋าน ละ ก้อด)
คำเมืองเรียก ไม้คาน ว่าไม้กาน
ธรรมาสน์ แบบล้านนา
หมู่พระประธาน เป็นพระพุทธรูป 7 องค์
ตรงกลาง 5 องค์
ด้านข้าง 2 องค์
องค์กลาง เชียงแสนสิงห์ 1 หรือ พระพุทธสิหิงส์นั้น
จารึกว่า ศรีสัทธรรมไตรโลกรัตนจุฬามหาสังฆราชเป็นผู่สร้าง
เมื่อ จุลศักราช 831 ตรงกับ พ.ศ. 2012
ในรัชกาลพระเจ้าติโลกราช แห่งราชวงศ์มังราย
เป็นอีกวัดเก่าที่นำมาฝากกันค่ะ
วัดที่สร้างในสมัยพญามังราย ... วัดพระเจ้าเม็งราย
เมื่อพญามังรายสร้างวัดเชียงมั่นเสร็จ
ได้อัญเชิญ พระเจ้าค่าคิง คือ เท่ากับตัว ... ของพญามังราย
พระพุทธรูปปางลีลาห้ามญาติ เนื้อสำริด ที่หล่อที่เวียงกุมกาม
ให้มาประดิษฐานไว้ในวัดเชียงมั่น
ขณะหามพระพุทธรูปมา ไม้คานที่ใช้หามพระพุทธรูป คอดลง (หย่อนลงคอดกิ่ว)
จนหามต่อไปไม่ได้
พญามังรายถือเป็นบุพพนิมิตที่ดี
จึงโปรดให้สร้างพระอารามขึ้น เมื่อ พ.ศ. 1836-1840
ชื่อวัด กานกอด หรือ ก๋าละก้อด (ก๋าน ละ ก้อด) ... คาน ว่าไม้กาน
เมื่อพญามังรายได้สร้างวัดเชียงมั่น
อยู่ถนนราชมรรคา ซอย 6
มาร์คตำแหน่ง สถานีตำรวจกองเมืองเชียงใหม่ ร้านเฮือนเพ็ญ ไว้เป็นจุดสังเกต
พระเจ้าค่าคิง
พระเจ้า ภาษาเหนือหมายถึง พระพุทธรูป เช่น หิ้งพระเจ้า โขงพระเจ้า ซุ้มพระเจ้า
ค่า แปลว่าเท่ากับ เสมอ
คิง และว่า ตัวตนคน
รองศาสตราจารย์สมโชติ อ๋องสกุล ที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อธิบายว่า
การสร้างพระพุทธรูปสูงใหญ่เท่าตัวตนผู้สร้างนั้น
มิได้หมายความว่าเท่ากับความสูงจริง
แต่จะให้ผู้สร้างยืนกลางแสงแดดยามเช้าหรือเวลาเย็นที่แสงทอดไปไกลที่สุด
แล้วให้วัดความยาวจากลำแสงที่ทอดผ่านนั้น มาใช้เป็นความสูงของพระพุทธรูป
เพราะ เนื่องมาจากไม่เป็นการบังควรที่จะสร้างเท่าขนาดความสูงปกติเท่าคนจริง เพราะพระพุทธรูปเป็นตัวแทนของพระพุทธเจ้า
พระพุทธรูปองค์นี้จึงสูงกว่าตัวตนจริงของพญามังราย
เจดีย์ทรงระฆัง
เรือนธาตุสี่เหลียม มีซุ้มพระเจ้าทั้งสี่ด้าน
วิหาร ... ภาพเมื่อ พ.ศ. 2557
เมื่อมีการซ่อมแซมวิหาร พ.ศ. 2510 ได้พบจารึกผอบเงินใต้ฐานพระประธาน
ด้วยอักษรไตยวน ชื่อวัด คานคอด หรือ ก๋าละก้อด (ก๋าน ละ ก้อด)
คำเมืองเรียก ไม้คาน ว่าไม้กาน
ธรรมาสน์ แบบล้านนา
หมู่พระประธาน เป็นพระพุทธรูป 7 องค์
ตรงกลาง 5 องค์
ด้านข้าง 2 องค์
องค์กลาง เชียงแสนสิงห์ 1 หรือ พระพุทธสิหิงส์นั้น
จารึกว่า ศรีสัทธรรมไตรโลกรัตนจุฬามหาสังฆราชเป็นผู่สร้าง
เมื่อ จุลศักราช 831 ตรงกับ พ.ศ. 2012
ในรัชกาลพระเจ้าติโลกราช แห่งราชวงศ์มังราย
เป็นอีกวัดเก่าที่นำมาฝากกันค่ะ
วัดที่สร้างในสมัยพญามังราย
วัดอุโมงค์ https://ppantip.com/topic/37215396
วัดอุโมงค์มหาเถรจันทร์ https://ppantip.com/topic/37185215
วัดเชียงมั่น https://ppantip.com/topic/37263528