อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ ตั้งอยู่ใน อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์
ประกอบด้วยสองส่วนคือ
เมืองโบราณศรีเทพ คือส่วนที่อยู่ภายในคูน้ำและคันดิน
และ
นอกเมืองโบราณศรีเทพ คือส่วนที่อยู่นอกคูน้ำและคันดิน ได้แก่เขาคลังนอก และถ้ำเขาถมอรัตน์
ถูกทิ้งร้างไป ในยุคของศิลปะขอม หรือ ลพบุรี ... ยังไม่ทราบสาเหตุ
ปัจจุบันก็ถูกทิ้งร้างอยู่
คนนำเที่ยวบอกว่า ใครเข้ามาอยู่จะมีอันเป็นไปอย่างไดอย่างหนึ่ง
แหล่งขุดค้นทางโบราณคดี
เลือกขุดในส่วนที่เป็นเนินดิน ในเมืองโบราณศรีเทพ
หลุมที่ขุดแต่งเมื่อปี พ.ศ. 2531
ชั้นที่ลึกสุด
... อายุมากที่สุดเก่าแก่ที่สุด ...
โครงกระดูกที่สมบูรณ์ที่สุดที่พบเป็นโครงกระดูกเพศหญิง หันศีรษะไปทางทิศเหนือ
... มีความเชื่อเรื่องทิศในการฝัง ...
แขนซ้ายบริเวณข้อศอกมีกำไลสำริด
ด้ายซ้ายมีเครื่องมือเหล็กยาวประมาณ 50 ซม.ปลายแหลม เราว่าเหมือนพร้า
... การหลอมเหล็กจะยุ่งยากกว่าสำริด แข็งแรงทนทานกว่า จึง เป็นยุคหลังยุคสำริด ...
คอมีเครื่องประดับคาเนเลียน หินสีส้ม
... หินสีส้มที่ไม่ได้มีแถนนั้นแสดงว่ามีการติดต่อกับชุมชนอื่น ...
มีชามดินเผา และภาชนะที่ถูกทุบให้แตก
... มีพิธีกรรมในการฝังศพ ...
โครงกระดูกช้าง อยูตื้นกว่าจึงอายุน้อยกว่า
การฝังอาจเป็นพิธีกรรม เพราะฝังใกล้ศาสนสถาน มีก้อนศิลาเรียงเป็นแนว
หรืออาจเป็นช้างที่ใช้สร้างศาสนสถาน
หลุมที่ขุดแต่งเมื่อปี พ.ศ. 2559
โครงกระดูกเพศชาย สูง 150 ซม.เสียชีวิตเมื่ออายุ 25-35 ปี
นอนหงาย หันศรีษะไปทางตะวันตก
... ความเชื่อเรื่องทิศเปลี่ยนไป หรือต่างไป ...
มีเครื่องมือเหล็กฝังอยู่ทางซ้าย
ลำคอแต่งโลหะเงินแบนยาวมาถึงกกหูซ้าย
มีแวดินเผา อยู่ทางซ้ายของหน้าแข้งและน่อง
... แวดินเผาใช้สำหรับปั่นด้าย แสดงว่าสวมใส่เสื้อผ้าที่ทำจากฝ้าย ...
ภาชนะดินเผาทรงชาม สีดำหรือน้ำตาล ตกแต่งด้วยเชือกทาบ เนื้อหยาบ ขึ้นรูปด้วยมือ
... ภาชนะทำจากดินเผาใช้ ...
ถูกทุบให้แตกและตั้งใจวางไว้ที่ปลายเท้า
... มีพิธีกรรมในการฝังศพ ...
อายุราว 1700-1760 ปีล่วงมาแล้ว
... จากการใช้ฟันเขี้ยวไปหาอายุโดยวิธี accelerator mass spectrometry ...
โครงกระดูกมนุษย์และโครงกระดูกสุนัข
... มีสุนัขเป็นสัตว์เลี้ยง ...
เมื่อวัฒนธรรมและศาสนาเดินทางมาถึง
มีการสร้างเมืองเป็นรูปวงกลม
มีคูน้ำคันดิน โดยการขุดคูแล้วเอาดินมาถมเป็นคันดิน
เมืองใน
มีพื้นที่ประมาณ 1,300 ไร่ รูปเกือบกลม มีช่องประตูเมือง 6 ช่อง
มีโบราณสถานซึ่งได้รับการขุดแต่งและบูรณะแล้วทั้งหมดประมาณ 40 แห่ง
ที่สำคัญคือ เขาคลังใน (ทวาราวดี) ปรางค์สองพี่น้อง และ ปรางค์ศรีเทพ (ลพบุรี)
มีสระน้ำและหนองน้ำขนาดใหญ่จนถึงเล็กกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปประมาณ 70 สระ
เมื่อมีผู้คนมากขึ้น จึงขยายเมืองไปทางทิศตะวันออก ... เมืองนอก
มีพื้นที่ประมาณ 1,589 ไร่ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ต่อออกไปทางตะวันออกของเมืองใน มีช่องประตูเมือง 6 ช่อง
มีโบราณสถานขนาดเล็กและยังไม่ได้ขุดแต่งบูรณะประมาณ 54 แห่ง
มีสระน้ำขนาดใหญ่ เล็กกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปประมาณ 30 แห่ง
มีสระขวัญเป็นสระน้ำสำคัญที่มีขนาดใหญ่และตั้งอยู่กลางเมือง
ช่องประตูระหว่างเมืองในและเมืองนอก
โบราณสถานของอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ
* ถ้ำเขาถมอรัตน์ *
เป็นโบราณสถานทวาราวดี
ห่างออกไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 20 กม.
ต้องเดินขึ้นไปยอดเขาไปอีกจึงไม่ได้ไป
* เขาคลังนอก *
เป็นศาสนสถานทวารวดีขนาดใหญ่
ตั้งอยู่นอกเมืองทางทิศเหนือ ออกไปราว 2 กิโลเมตร
ไปเที่ยวครั้งแรกปี พ.ศ. 2556 เห็นเป็นโบราณสถานใหญ่ อันเดียวโดด ๆ
ปี พ.ศ. 2560 ได้ไปอีกครั้ง พบว่ารอบ ๆ มีสถูปบริวารด้วย ตามผังนี้
สันนิษฐานว่าเป็นมหาสถูป
มีอายุ ราวพุทธศตวรรษที่ 13-14
ร่วมสมัยกับโบราณสถานเขาคลังใน ในเมืองโบราณศรีเทพ
มีฐานขนาดใหญ่ทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ฐานกว้าง 64 เมตร
ก่อด้วยศิลาแลงที่ยังคงสภาพค่อนข้างสมบูรณ์
โดยเฉพาะทางด้านทิศเหนือ บูรณะน้อยที่สุด
ต้องมาอยู่หลังสถูปบริวารจึงเก็บภาพมหาสถูปได้หมด
ฐานประดับตกแต่งด้วยอาคารจำลองขนาดต่างๆอยู่โดยรอบ
ภายในทึบตัน มีบันไดทางขึ้นทั้ง 4 ด้าน
... ทำให้ขึ้นทางทิศตะวันตก ...
ฐานชั้นที่สอง
ด้านบนมีสถูปก่อด้วยอิฐตั้งอยู่ด้านบนล้อมรอบด้วยกำแพงแก้ว
ไกล ๆ คือเขาถมอรัตน์
ซุ้มประตู
ตรงมุม ?
สถูปบริวารทางทิศใต้
สถูปทางตะวันตกเฉียงใต้
สถูปทางทิศตะวันตก ... กำลังขุดแต่ง
อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ - เพชรบูรณ์
อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ ตั้งอยู่ใน อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์
ประกอบด้วยสองส่วนคือ
เมืองโบราณศรีเทพ คือส่วนที่อยู่ภายในคูน้ำและคันดิน
และ
นอกเมืองโบราณศรีเทพ คือส่วนที่อยู่นอกคูน้ำและคันดิน ได้แก่เขาคลังนอก และถ้ำเขาถมอรัตน์
ถูกทิ้งร้างไป ในยุคของศิลปะขอม หรือ ลพบุรี ... ยังไม่ทราบสาเหตุ
ปัจจุบันก็ถูกทิ้งร้างอยู่
คนนำเที่ยวบอกว่า ใครเข้ามาอยู่จะมีอันเป็นไปอย่างไดอย่างหนึ่ง
แหล่งขุดค้นทางโบราณคดี
เลือกขุดในส่วนที่เป็นเนินดิน ในเมืองโบราณศรีเทพ
หลุมที่ขุดแต่งเมื่อปี พ.ศ. 2531
ชั้นที่ลึกสุด
... อายุมากที่สุดเก่าแก่ที่สุด ...
โครงกระดูกที่สมบูรณ์ที่สุดที่พบเป็นโครงกระดูกเพศหญิง หันศีรษะไปทางทิศเหนือ
... มีความเชื่อเรื่องทิศในการฝัง ...
แขนซ้ายบริเวณข้อศอกมีกำไลสำริด
ด้ายซ้ายมีเครื่องมือเหล็กยาวประมาณ 50 ซม.ปลายแหลม เราว่าเหมือนพร้า
... การหลอมเหล็กจะยุ่งยากกว่าสำริด แข็งแรงทนทานกว่า จึง เป็นยุคหลังยุคสำริด ...
คอมีเครื่องประดับคาเนเลียน หินสีส้ม
... หินสีส้มที่ไม่ได้มีแถนนั้นแสดงว่ามีการติดต่อกับชุมชนอื่น ...
มีชามดินเผา และภาชนะที่ถูกทุบให้แตก
... มีพิธีกรรมในการฝังศพ ...
โครงกระดูกช้าง อยูตื้นกว่าจึงอายุน้อยกว่า
การฝังอาจเป็นพิธีกรรม เพราะฝังใกล้ศาสนสถาน มีก้อนศิลาเรียงเป็นแนว
หรืออาจเป็นช้างที่ใช้สร้างศาสนสถาน
หลุมที่ขุดแต่งเมื่อปี พ.ศ. 2559
โครงกระดูกเพศชาย สูง 150 ซม.เสียชีวิตเมื่ออายุ 25-35 ปี
นอนหงาย หันศรีษะไปทางตะวันตก
... ความเชื่อเรื่องทิศเปลี่ยนไป หรือต่างไป ...
มีเครื่องมือเหล็กฝังอยู่ทางซ้าย
ลำคอแต่งโลหะเงินแบนยาวมาถึงกกหูซ้าย
มีแวดินเผา อยู่ทางซ้ายของหน้าแข้งและน่อง
... แวดินเผาใช้สำหรับปั่นด้าย แสดงว่าสวมใส่เสื้อผ้าที่ทำจากฝ้าย ...
ภาชนะดินเผาทรงชาม สีดำหรือน้ำตาล ตกแต่งด้วยเชือกทาบ เนื้อหยาบ ขึ้นรูปด้วยมือ
... ภาชนะทำจากดินเผาใช้ ...
ถูกทุบให้แตกและตั้งใจวางไว้ที่ปลายเท้า
... มีพิธีกรรมในการฝังศพ ...
อายุราว 1700-1760 ปีล่วงมาแล้ว
... จากการใช้ฟันเขี้ยวไปหาอายุโดยวิธี accelerator mass spectrometry ...
โครงกระดูกมนุษย์และโครงกระดูกสุนัข
... มีสุนัขเป็นสัตว์เลี้ยง ...
เมื่อวัฒนธรรมและศาสนาเดินทางมาถึง
มีการสร้างเมืองเป็นรูปวงกลม
มีคูน้ำคันดิน โดยการขุดคูแล้วเอาดินมาถมเป็นคันดิน
เมืองใน
มีพื้นที่ประมาณ 1,300 ไร่ รูปเกือบกลม มีช่องประตูเมือง 6 ช่อง
มีโบราณสถานซึ่งได้รับการขุดแต่งและบูรณะแล้วทั้งหมดประมาณ 40 แห่ง
ที่สำคัญคือ เขาคลังใน (ทวาราวดี) ปรางค์สองพี่น้อง และ ปรางค์ศรีเทพ (ลพบุรี)
มีสระน้ำและหนองน้ำขนาดใหญ่จนถึงเล็กกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปประมาณ 70 สระ
เมื่อมีผู้คนมากขึ้น จึงขยายเมืองไปทางทิศตะวันออก ... เมืองนอก
มีพื้นที่ประมาณ 1,589 ไร่ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ต่อออกไปทางตะวันออกของเมืองใน มีช่องประตูเมือง 6 ช่อง
มีโบราณสถานขนาดเล็กและยังไม่ได้ขุดแต่งบูรณะประมาณ 54 แห่ง
มีสระน้ำขนาดใหญ่ เล็กกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปประมาณ 30 แห่ง
มีสระขวัญเป็นสระน้ำสำคัญที่มีขนาดใหญ่และตั้งอยู่กลางเมือง
ช่องประตูระหว่างเมืองในและเมืองนอก
โบราณสถานของอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ
* ถ้ำเขาถมอรัตน์ *
เป็นโบราณสถานทวาราวดี
ห่างออกไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 20 กม.
ต้องเดินขึ้นไปยอดเขาไปอีกจึงไม่ได้ไป
* เขาคลังนอก *
เป็นศาสนสถานทวารวดีขนาดใหญ่
ตั้งอยู่นอกเมืองทางทิศเหนือ ออกไปราว 2 กิโลเมตร
ไปเที่ยวครั้งแรกปี พ.ศ. 2556 เห็นเป็นโบราณสถานใหญ่ อันเดียวโดด ๆ
ปี พ.ศ. 2560 ได้ไปอีกครั้ง พบว่ารอบ ๆ มีสถูปบริวารด้วย ตามผังนี้
สันนิษฐานว่าเป็นมหาสถูป
มีอายุ ราวพุทธศตวรรษที่ 13-14
ร่วมสมัยกับโบราณสถานเขาคลังใน ในเมืองโบราณศรีเทพ
มีฐานขนาดใหญ่ทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ฐานกว้าง 64 เมตร
ก่อด้วยศิลาแลงที่ยังคงสภาพค่อนข้างสมบูรณ์
โดยเฉพาะทางด้านทิศเหนือ บูรณะน้อยที่สุด
ต้องมาอยู่หลังสถูปบริวารจึงเก็บภาพมหาสถูปได้หมด
ฐานประดับตกแต่งด้วยอาคารจำลองขนาดต่างๆอยู่โดยรอบ
ภายในทึบตัน มีบันไดทางขึ้นทั้ง 4 ด้าน
... ทำให้ขึ้นทางทิศตะวันตก ...
ฐานชั้นที่สอง
ด้านบนมีสถูปก่อด้วยอิฐตั้งอยู่ด้านบนล้อมรอบด้วยกำแพงแก้ว
ไกล ๆ คือเขาถมอรัตน์
ซุ้มประตู
ตรงมุม ?
สถูปบริวารทางทิศใต้
สถูปทางตะวันตกเฉียงใต้
สถูปทางทิศตะวันตก ... กำลังขุดแต่ง