คำเตือนบทความต่อไปนี้ไม่สามรถหาเเหล่งอ้างอิงที่ถูกต้อง 100 เปอร์เซ็นได้โปรดใช้วิจารณญาณ
(การระบุจำเเนกจะอ้างอิงตามโมเดลหลัก)
ประวัติเต็ม
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้https://en.wikipedia.org/wiki/M3_submachine_gun
ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 กำลังดุเดือดกองทัพสหรัฐเกิดความต้องการปืนกลมืออย่างมากในสมรภูมิ ไม่ว่าจะเป็นที่ยุโรป,แอฟริกาเหนือ,และแปซิฟิกทำให้ต้องมีการจัดตั้งโครงการหาปืนกลมือแบบใหม่ที่ผลิตได้ง่ายไม่มีความซับซ้อนและมีราคาถูกกว่าปืนกลมือ Thompson ที่มีอยู่ก่อนหน้านั้นถึงปืนกลมือทอมสันจะมีใช้อย่างมากมายในกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรแต่อย่างไรก็ตามมันก็เป็นอาวุธที่ต้องใช้ความซับซ้อนในการผลิตและราคาสูงสำหรับใช้ในกองทัพขนาดใหญ่จึงต้องหาอย่างอื่นที่ราคาถูกกว่ามันมาเพื่อป้อนเข้าสู่สงครามให้ทันต่อความต้องความต้องการของทหารในแนวหน้าปืนกลมือ M3 จึงเข้ามามีบทบาทในเรื่องนี้อย่างมากเพราะมันใช้ระบบปฏิบัติการที่ไม่ซับซ้อนและขั้นตอนการผลิตที่สั้นกว่ามากทำให้ในเวลาไม่นานมันก็ถูกแจกจ่ายไปทั่วกองทหารอเมริกันและอังกฤษตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ออกแบบโดย George Hyde ช่างทำปืนชาวเยอรมันผู้ย้ายมาอยู่ในสหรัฐนอกจาก M3 แล้วเขายังฝากผลงานเอาไว้หลายอย่างแต่ส่วนใหญ่ก็ไม่ได้รับความสนใจมากนัก
1. M3 - .45 ACP
รุ่นนี้จะมีคันชักเอาไว้สำหรับเปิด bolt ฝาครอบทำหนัาที่เป็นเซฟตี้ด้วย
2. M3A1 - .45 ACP
รุ่นนี้เป็นรุ่นปรับปรุงจากรุ่นแรกคันชักสำหรับเปิด bolt ถูกเอาออกและแทนที่ด้วยการมีหลุมเล็กๆเอาไว้ที่เพื่อเอาไว้ให้ใส่นิ้วเข้าไปและดัน bolt ถอยหลังแล้วจึงยิงได้
สำหรับในกองทัพสหรัฐมันถูกประจำการตลอดมาตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 สงครามเกาหลีเวียดนามจนกระทั่งถึงสงครามอ่าวเปอร์เซียครั้งแรกมันถูกใช้โดยพลรถถัง Abram
เกาหลี
เวียดนาม
สงครามอ่าวเปอร์เซียครั้งแรก
ปัจจุบันนี้ปืนกลมือ M3 ก็ยังถูกใช้งานอยู่ถึงมันจะเก่าแต่ก็ยังมีความน่าเชื่อถือและกระสุนขนาด .45 ที่ยังคงหามายิงได้อยู่ในทุกวันนี้กองทัพและหน่วยงานทางทหารที่ยังคงใช้มันก็ยังมีอยู่ไม่น้อยยกตัวอย่างใกล้บ้านเราหน่อยก็ฟิลิปปินส์ดูเหมือนจะมีการปรับปรุงให้ทันสมัยขึ้นด้วยด้วยการติด Picatinny rail มีการยืนยันแล้วว่านาวิกโยธินของฟิลิปปินส์ยังคงประจำการมันอยู่รวมถึงพลประจำยานเกราะของฟิลิปปินส์ด้วย
ตอนถอดประกอบ
3. FM PAM 1/2 - 9x19mm
เวอร์ชั่น Copy ของ M3 ถูกใช้งานโดยกองทัพอาร์เจนตินา
สวัสดีครับ
สารานุกรมปืนตอนที่ 59 เปิดตระกูลปืนกลมือ M3 "Grease Gun"
(การระบุจำเเนกจะอ้างอิงตามโมเดลหลัก)
ประวัติเต็ม
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 กำลังดุเดือดกองทัพสหรัฐเกิดความต้องการปืนกลมืออย่างมากในสมรภูมิ ไม่ว่าจะเป็นที่ยุโรป,แอฟริกาเหนือ,และแปซิฟิกทำให้ต้องมีการจัดตั้งโครงการหาปืนกลมือแบบใหม่ที่ผลิตได้ง่ายไม่มีความซับซ้อนและมีราคาถูกกว่าปืนกลมือ Thompson ที่มีอยู่ก่อนหน้านั้นถึงปืนกลมือทอมสันจะมีใช้อย่างมากมายในกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรแต่อย่างไรก็ตามมันก็เป็นอาวุธที่ต้องใช้ความซับซ้อนในการผลิตและราคาสูงสำหรับใช้ในกองทัพขนาดใหญ่จึงต้องหาอย่างอื่นที่ราคาถูกกว่ามันมาเพื่อป้อนเข้าสู่สงครามให้ทันต่อความต้องความต้องการของทหารในแนวหน้าปืนกลมือ M3 จึงเข้ามามีบทบาทในเรื่องนี้อย่างมากเพราะมันใช้ระบบปฏิบัติการที่ไม่ซับซ้อนและขั้นตอนการผลิตที่สั้นกว่ามากทำให้ในเวลาไม่นานมันก็ถูกแจกจ่ายไปทั่วกองทหารอเมริกันและอังกฤษตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ออกแบบโดย George Hyde ช่างทำปืนชาวเยอรมันผู้ย้ายมาอยู่ในสหรัฐนอกจาก M3 แล้วเขายังฝากผลงานเอาไว้หลายอย่างแต่ส่วนใหญ่ก็ไม่ได้รับความสนใจมากนัก
1. M3 - .45 ACP
รุ่นนี้จะมีคันชักเอาไว้สำหรับเปิด bolt ฝาครอบทำหนัาที่เป็นเซฟตี้ด้วย
2. M3A1 - .45 ACP
รุ่นนี้เป็นรุ่นปรับปรุงจากรุ่นแรกคันชักสำหรับเปิด bolt ถูกเอาออกและแทนที่ด้วยการมีหลุมเล็กๆเอาไว้ที่เพื่อเอาไว้ให้ใส่นิ้วเข้าไปและดัน bolt ถอยหลังแล้วจึงยิงได้
สำหรับในกองทัพสหรัฐมันถูกประจำการตลอดมาตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 สงครามเกาหลีเวียดนามจนกระทั่งถึงสงครามอ่าวเปอร์เซียครั้งแรกมันถูกใช้โดยพลรถถัง Abram
เกาหลี
เวียดนาม
สงครามอ่าวเปอร์เซียครั้งแรก
ปัจจุบันนี้ปืนกลมือ M3 ก็ยังถูกใช้งานอยู่ถึงมันจะเก่าแต่ก็ยังมีความน่าเชื่อถือและกระสุนขนาด .45 ที่ยังคงหามายิงได้อยู่ในทุกวันนี้กองทัพและหน่วยงานทางทหารที่ยังคงใช้มันก็ยังมีอยู่ไม่น้อยยกตัวอย่างใกล้บ้านเราหน่อยก็ฟิลิปปินส์ดูเหมือนจะมีการปรับปรุงให้ทันสมัยขึ้นด้วยด้วยการติด Picatinny rail มีการยืนยันแล้วว่านาวิกโยธินของฟิลิปปินส์ยังคงประจำการมันอยู่รวมถึงพลประจำยานเกราะของฟิลิปปินส์ด้วย
ตอนถอดประกอบ
3. FM PAM 1/2 - 9x19mm
เวอร์ชั่น Copy ของ M3 ถูกใช้งานโดยกองทัพอาร์เจนตินา